HAMSIAM.COM # NO.1 HAM COMMUNITY OF THAILAND

HAMSIAM TECHNOLOGY => CB 245 MHz วิทยุประชาชน CITIZEN BAND RADIO => ข้อความที่เริ่มโดย: rungroj_f ที่ 09 เมษายน 2011, 23:26:13



หัวข้อ: ความเหมาะสม ในการใช้ วิทยุ เข้าโทน
เริ่มหัวข้อโดย: rungroj_f ที่ 09 เมษายน 2011, 23:26:13
เนื่องจากเห็นว่า ความถี่ 245 เป็นของทุกๆคน มีคนหลายความคิด ดังนั้นส่วนตัวจึงมีคำถามในใจว่า
มีความเหมาะสมมากน้อยเพียงไร ในการใช้ วิทยุ เข้าแล้วโทนเพื่อ คุยกันในกลุ่ม เพราะ

ข้อดี
ไม่ต้องได้ยินเสียงคนอื่นมารบกวน
(แต่สุดท้ายถ้าจะมีคนมากวนมันก็ แสกนหาโทน เจออยู่ดี)

ข้อเสีย
จะเกิดการใช้ความถี่ซ้อนกัน มีการกดคีย์ออกอากาศพร้อมกัน โดยที่ต่างฝ่ายก็ไม่ทราบเพราะ เข้าโทนอยู่
(สุดท้ายก็คุยกันไม่ได้ ถ้าคุยพร้อมๆกัน)

หากจะไม่มีการเข้าโทนเลยจะเหมาะกว่าหรือไม่ ::) ::)

อยากฟังเพื่อนๆให้ความเห็นด้วย
ขอบคุณครับ ;) ;)


หัวข้อ: Re: ความเหมาะสม ในการใช้ วิทยุ เข้าโทน
เริ่มหัวข้อโดย: beer.lh24 ที่ 09 เมษายน 2011, 23:32:46
มีระเบียบในการใช้โทนอยู่ครับ :D

ความถี่อาสาสมัคร
  • เครื่อง 80 ช่อง ให้ใช้งานช่อง 01-20 เข้าโทนได้เฉพาะช่อง 17-20
  • เครื่อง 40 ช่อง ให้ใช้งานช่อง 01-10 เข้าโทนได้เฉพาะช่อง 09-10

ความถี่ทั่วไป
  • เครื่อง 80 ช่อง ให้ใช้งานช่อง 21-80 เข้าโทนได้เฉพาะช่อง 17-20
  • เครื่อง 40 ช่อง ให้ใช้งานช่อง 11-40 เข้าโทนได้เฉพาะช่อง 11-16


หัวข้อ: Re: ความเหมาะสม ในการใช้ วิทยุ เข้าโทน
เริ่มหัวข้อโดย: poponoy ที่ 09 เมษายน 2011, 23:36:33
มีระเบียบในการใช้โทนอยู่ครับ :D

ความถี่อาสาสมัคร
  • เครื่อง 80 ช่อง ให้ใช้งานช่อง 01-20 เข้าโทนได้เฉพาะช่อง 17-20
  • เครื่อง 40 ช่อง ให้ใช้งานช่อง 01-10 เข้าโทนได้เฉพาะช่อง 09-10

ความถี่ทั่วไป
  • เครื่อง 80 ช่อง ให้ใช้งานช่อง 21-80 เข้าโทนได้เฉพาะช่อง 17-20
  • เครื่อง 40 ช่อง ให้ใช้งานช่อง 11-40 เข้าโทนได้เฉพาะช่อง 11-16



มีข้อมูลอ้างอิงไหมครับ ที่มา


หัวข้อ: Re: ความเหมาะสม ในการใช้ วิทยุ เข้าโทน
เริ่มหัวข้อโดย: rungroj_f ที่ 09 เมษายน 2011, 23:54:29
ส่วนตัวมองว่า หาดเข้าโทน อาจเกิดการกระทบกระทั่ง บนความถี่มากขึ้น หรือไม่ เพราะ
หากมีคนที่เขาไม่ได้เข้าโทนกำลังสนทนากันอยู่ แล้วจู่ๆก็มีผู้อื่นมาคุยแทรกระหว่างข้อความ โดยที่เขากำลังคุยกัน
มันก็จะ คล้ายๆการขับรถปาดหน้ากัน (อะไรประมาณนั้น) หรือเปล่าว


หัวข้อ: Re: ความเหมาะสม ในการใช้ วิทยุ เข้าโทน
เริ่มหัวข้อโดย: beer.lh24 ที่ 10 เมษายน 2011, 00:23:45
มีระเบียบในการใช้โทนอยู่ครับ :D

ความถี่อาสาสมัคร
  • เครื่อง 80 ช่อง ให้ใช้งานช่อง 01-20 เข้าโทนได้เฉพาะช่อง 17-20
  • เครื่อง 40 ช่อง ให้ใช้งานช่อง 01-10 เข้าโทนได้เฉพาะช่อง 09-10

ความถี่ทั่วไป
  • เครื่อง 80 ช่อง ให้ใช้งานช่อง 21-80 เข้าโทนได้เฉพาะช่อง 17-20
  • เครื่อง 40 ช่อง ให้ใช้งานช่อง 11-40 เข้าโทนได้เฉพาะช่อง 11-16



มีข้อมูลอ้างอิงไหมครับ ที่มา

อ้างอิงจาก หนังสือคู่มือนักวิทยุ หน้า 70-71 โดย ธิดา เด่นพฤกษ์ธรรม HS1ASC บรรณาธิการอาวุโส นิตยสาร 100 วัตต์ ครับ


หัวข้อ: Re: ความเหมาะสม ในการใช้ วิทยุ เข้าโทน
เริ่มหัวข้อโดย: hunter821 ที่ 12 เมษายน 2011, 07:22:20
มีระเบียบในการใช้โทนอยู่ครับ :D

ความถี่อาสาสมัคร
  • เครื่อง 80 ช่อง ให้ใช้งานช่อง 01-20 เข้าโทนได้เฉพาะช่อง 17-20
  • เครื่อง 40 ช่อง ให้ใช้งานช่อง 01-10 เข้าโทนได้เฉพาะช่อง 09-10

ความถี่ทั่วไป
  • เครื่อง 80 ช่อง ให้ใช้งานช่อง 21-80 เข้าโทนได้เฉพาะช่อง 17-20
  • เครื่อง 40 ช่อง ให้ใช้งานช่อง 11-40 เข้าโทนได้เฉพาะช่อง 11-16



มีข้อมูลอ้างอิงไหมครับ ที่มา

อ้างอิงจาก หนังสือคู่มือนักวิทยุ หน้า 70-71 โดย ธิดา เด่นพฤกษ์ธรรม HS1ASC บรรณาธิการอาวุโส นิตยสาร 100 วัตต์ ครับ


แล้วระเบียบนี้ ออกโดยหน่วยงานไหน ของรัฐครับ


หัวข้อ: Re: ความเหมาะสม ในการใช้ วิทยุ เข้าโทน
เริ่มหัวข้อโดย: hs2tij ที่ 14 เมษายน 2011, 16:47:06
ผมว่าน่าจะเป็น แค่ แนวทางการใช้น่ะครับ ระเบียบ แบบนี้ บังคับยากครับ วิทยุ ประชาชน เค้ามีมาให้ใช้ แบบอิสระครับ แบบใครใคร่ใช้ ใครใคร่ซื้อ ก็ซื้อ พวกเราเองต่างหากที่ไปใช้ความถี่เค้าแบบสนทนาทั่วไป แล้วก็ว่าคุยได้บ้างไม่ได้บ้าง ก็ มันอิสระน่ะครับ บอกแล้ว  กฏง่ายๆที่เค้าบังคับคือ ใช้เครื่องขอใบอนุญาต และขอตั้งสถานี แค่สองข้อนี่ ก็ ทำกันไม่ครบแล้วครับ  :)


หัวข้อ: Re: ความเหมาะสม ในการใช้ วิทยุ เข้าโทน
เริ่มหัวข้อโดย: rungroj_f ที่ 14 เมษายน 2011, 16:58:38
ผมว่าน่าจะเป็น แค่ แนวทางการใช้น่ะครับ ระเบียบ แบบนี้ บังคับยากครับ วิทยุ ประชาชน เค้ามีมาให้ใช้ แบบอิสระครับ แบบใครใคร่ใช้ ใครใคร่ซื้อ ก็ซื้อ พวกเราเองต่างหากที่ไปใช้ความถี่เค้าแบบสนทนาทั่วไป แล้วก็ว่าคุยได้บ้างไม่ได้บ้าง ก็ มันอิสระน่ะครับ บอกแล้ว  กฏง่ายๆที่เค้าบังคับคือ ใช้เครื่องขอใบอนุญาต และขอตั้งสถานี แค่สองข้อนี่ ก็ ทำกันไม่ครบแล้วครับ  :)

เห็นด้วยครับ....


หัวข้อ: Re: ความเหมาะสม ในการใช้ วิทยุ เข้าโทน
เริ่มหัวข้อโดย: hs2tei ที่ 14 เมษายน 2011, 17:35:01
ความถี่ประชาชน ทุกคนมีสิทธิเท่ากันในการใช้

แต่ใส่โทน เอาง่ายๆ


เหมือนมีคนมานั่งรวมกันในห้องประชุม  ใครจะคุยกับใครก็ได้

แต่คนใส่โทน คือ คนที่อุดหู แล้วตะโกนมาในห้อง 

คนอื่นเค้าคุยกันคนหนึ่งพูด อีกคนจะหยุด อีกคนพูดจบ อีกคนพูด สลับกัน

แต่คนอุดหูไม่ได้ยินใครซักคน พูดทับไปทับมาตลอดเวลา แต่ไม่หนวกหูใครเพราะไม่ได้ยิน


แต่คนทั้งห้องประชุม คุยกันไม่ได้ เพราะคนอุดหูตะโกนไปเรื่อยๆ ไม่ฟังใคร


หัวข้อ: Re: ความเหมาะสม ในการใช้ วิทยุ เข้าโทน
เริ่มหัวข้อโดย: E27FBI ที่ 14 เมษายน 2011, 20:55:19
เสริมอีกนิดครับ ควรจะใส่โทนใช้เฉพาะเสายางด้วยกันภายในโรงงาน โรงเรียน โรงแรม หรือหน่วยงานที่มีเครือข่ายเล็กๆภายในไม่ควรแพร่
กระจายคลื่นไปไกลๆ แต่ถ้าเสาสูงๆเครื่องส่งแรงๆการใส่โทนถือว่าไม่เหมาะสมครับเพราะสัญญานเราไปไกลรบกวนผู้อื่นเหมือนกันครับบ


หัวข้อ: Re: ความเหมาะสม ในการใช้ วิทยุ เข้าโทน
เริ่มหัวข้อโดย: E27FBI ที่ 14 เมษายน 2011, 20:58:25
อีกนิดนะครับ การใส่โทนไม่ได้หมายความว่าเราจะไม่ได้ยินใครเลยนะครับ ถ้าเรารับสัญญานแรงๆใกล้ๆถึงแม้ว่าจะใส่โทนอยู่ก็สามารถเข้ามากวนโทนเราได้เราก็ไม่สามารถสนทนาได้เหมือนกันครับ


หัวข้อ: Re: ความเหมาะสม ในการใช้ วิทยุ เข้าโทน
เริ่มหัวข้อโดย: hondaone ที่ 15 เมษายน 2011, 08:25:15
เสริมอีกนิดครับ ควรจะใส่โทนใช้เฉพาะเสายางด้วยกันภายในโรงงาน โรงเรียน โรงแรม หรือหน่วยงานที่มีเครือข่ายเล็กๆภายในไม่ควรแพร่
กระจายคลื่นไปไกลๆ แต่ถ้าเสาสูงๆเครื่องส่งแรงๆการใส่โทนถือว่าไม่เหมาะสมครับเพราะสัญญานเราไปไกลรบกวนผู้อื่นเหมือนกันครับบ

+1


หัวข้อ: Re: ความเหมาะสม ในการใช้ วิทยุ เข้าโทน
เริ่มหัวข้อโดย: jraky1 ที่ 15 เมษายน 2011, 08:40:12
เสริมอีกนิดครับ ควรจะใส่โทนใช้เฉพาะเสายางด้วยกันภายในโรงงาน โรงเรียน โรงแรม หรือหน่วยงานที่มีเครือข่ายเล็กๆภายในไม่ควรแพร่
กระจายคลื่นไปไกลๆ แต่ถ้าเสาสูงๆเครื่องส่งแรงๆการใส่โทนถือว่าไม่เหมาะสมครับเพราะสัญญานเราไปไกลรบกวนผู้อื่นเหมือนกันครับบ
เห็นด้วยครับ :-*


หัวข้อ: Re: ความเหมาะสม ในการใช้ วิทยุ เข้าโทน
เริ่มหัวข้อโดย: nismo b11 ที่ 15 เมษายน 2011, 21:48:20
เสริมอีกนิดครับ ควรจะใส่โทนใช้เฉพาะเสายางด้วยกันภายในโรงงาน โรงเรียน โรงแรม หรือหน่วยงานที่มีเครือข่ายเล็กๆภายในไม่ควรแพร่
กระจายคลื่นไปไกลๆ แต่ถ้าเสาสูงๆเครื่องส่งแรงๆการใส่โทนถือว่าไม่เหมาะสมครับเพราะสัญญานเราไปไกลรบกวนผู้อื่นเหมือนกันครับบ
ผมก็ใส่โทนแต่จะเป็นการทำงานในพื้นที่จำกัด..เท่านั้น


หัวข้อ: Re: ความเหมาะสม ในการใช้ วิทยุ เข้าโทน
เริ่มหัวข้อโดย: pissadan ที่ 15 เมษายน 2011, 22:02:21
มีไปทำไม?? ต้องถามอย่างนี้ก่อนแล้วจะได้เข้าใจวัตถุประสงค์


หัวข้อ: Re: ความเหมาะสม ในการใช้ วิทยุ เข้าโทน
เริ่มหัวข้อโดย: ksurachet ที่ 15 เมษายน 2011, 22:24:14
เข้ามาดูครับ :D


หัวข้อ: Re: ความเหมาะสม ในการใช้ วิทยุ เข้าโทน
เริ่มหัวข้อโดย: krulam ที่ 05 พฤษภาคม 2011, 01:57:02
ผมว่าอยู่ที่ความจำเป็นครับ
ที่บ้านผมต้องเข้าโทน เพราะ
1.เวลาไม่เข้าโทนและเปิดstandby ไว้ หากมีคนใช้ความถี่ เสียงจะดังตลอด บ่อย นาน 
    บ้านเป็นร้านเน็ต เสียงรบกวนลูกค้า สัญญานจากตัวเมืองเข้ามาตลอด
2. ตอนกลางคืนบางครั้งต้องเปิดไว้ทั้งคืน เวลารอลูก หรือคนในบ้าน ออกไปข้างนอกแล้วนำวิทยุไปด้วย
    หรือผมไปตรวจเวรที่ทำงาน(ใกล้ๆบ้าน)   เคยลืมเปิดทิ้งไว้ไม่ใส่โทน พอเที่ยงคืนมีเสียงคนคุยกันดัง ลูกตื่นหมด
   
การแก้ปัญหาสัญญานทับกัน
- ถ้าใส่โทนตลอด ก่อนกดคีย์ต้องดูว่ามีสัญญานเข้าหรือไม่(s ขึ้นไหม) รอสักพัก ถ้าไม่มีก็คุย-เรียกกันได้
   ควรหมั่นสังเกตุสัญญานเข้า เพราะอาจมีคอนแทคโดยที่เราไม่ได้ยิน
   และใช้กำลังส่งพอรับ - ส่งกันได้เมื่อเข้าโทนครับ
   *********อันนี้สำคัญ ผมมักจะใช้โทนเวลา standby แต่ถ้าคุยยาวจะปลด SQL (โทนภาครับ) ออก  รับได้ทุกสถานี
   ส่วนที่ทำงานใช้โทนตลอดครับ ใช้ในพื้นที่ ไม่ส่งเสาสูง ไม่กวนใคร
     :) โชคดีบ้านและที่ทำงานอยู่นอกเมือง ความถี่ว่างเยอะ ถ้าชนกันก็ย้าย  ไม่มีปัญหาครับ  :)

ส่วนตัวผมว่าโทนในวิทยุมีประโยชน์  แต่การใช้ต่างหาก เหมาะหรือไม่ ใช้พอดี พอควรไหม
อันนี้คงขึ้นอยุ่กับวิธีการใช้งานของผู้ใช้ครับ.... :)


หัวข้อ: Re: ความเหมาะสม ในการใช้ วิทยุ เข้าโทน
เริ่มหัวข้อโดย: e22wj ที่ 07 มิถุนายน 2011, 11:05:49
ขออนุญาตออกความเห็นนะครับ 

โทน..คือ การตอบโจทก์ของการใช้ที่หนาแน่นบนความถี่ที่มีอยู่น้อยนิด(80 ช่อง)  เมื่อใส่โทนแล้ว  เป็นการเปิดจิตใจรับฟัง..พวกโทนเดียวกัน...ละเลยการรบกวนการฟังจากคนทั่วไป  แต่คลื่นความถี่...มันก็ไปของมันตามธรรมชาติ...คนที่ไม่ได้ใส่โทน..เขาก็จะได้ยินไปด้วยเช่นกัน 

เปรียบความถี่แต่ละช่องเป็นถนน  ซึ่งถนนแต่ละเส้น...อาจมีหลายเลนได้  แต่ละคันใส่เสียงกันเต็มที่...การรบกวนย่อมมีอยู่เป็นธรรมดา   เขาจึงออกแบบโทนมาให้ เพื่อปิดหูตัวเองจากเสียงอื่น  ผลดี..มีมากกว่าผลเสีย  ซึ่งผลเสียที่ว่า..จะเกิดขึ้นกับคนที่ไม่ได้ใส่โทนของตนเอง  ก็เท่ากับยอมเปิดรับฟังทุกเสียงบนถนนความถี่(ใจกว้าง)  ก็ต้องจำรับสภาพเช่นนั้นได้ด้วย  เพราะอย่างไรเสีย  การใช้ความถี่ต้องมีคู่สถานนีของตนเองกันอยู่แล้ว  การพูดและฟังอยู่บนความถี่ย่อย(โทน) เดียวกัน ก็มีความสุขได้  อย่ามองว่าเป็นการตะโกนในห้องประชุมเลย  เพราะถ้าในที่ประชุมฯ  ผู้มาประชุมต้องรับฟังทุกเสียงอยู่แล้ว  จึงต่างกันในการอุปมาอุปมัย ไม่อาจหยิบยกมาเทียบเคียงการใช้คลื่นความถี่ในเรื่องนี้

ขอบคุณครับ และขอรับฟังข้อคิดเห็นของเพื่อ สมช. และนักวิทยุฯ  ทุกท่าน  60/73/88


หัวข้อ: Re: ความเหมาะสม ในการใช้ วิทยุ เข้าโทน
เริ่มหัวข้อโดย: chinakrit ที่ 07 มิถุนายน 2011, 11:27:34
เสริมอีกนิดครับ ควรจะใส่โทนใช้เฉพาะเสายางด้วยกันภายในโรงงาน โรงเรียน โรงแรม หรือหน่วยงานที่มีเครือข่ายเล็กๆภายในไม่ควรแพร่
กระจายคลื่นไปไกลๆ แต่ถ้าเสาสูงๆเครื่องส่งแรงๆการใส่โทนถือว่าไม่เหมาะสมครับเพราะสัญญานเราไปไกลรบกวนผู้อื่นเหมือนกันครับบ
+100


หัวข้อ: Re: ความเหมาะสม ในการใช้ วิทยุ เข้าโทน
เริ่มหัวข้อโดย: Insurance ที่ 07 มิถุนายน 2011, 16:31:58
สริมอีกนิดครับ ควรจะใส่โทนใช้เฉพาะเสายางด้วยกันภายในโรงงาน โรงเรียน โรงแรม หรือหน่วยงานที่มีเครือข่ายเล็กๆภายในไม่ควรแพร่
กระจายคลื่นไปไกลๆ แต่ถ้าเสาสูงๆเครื่องส่งแรงๆการใส่โทนถือว่าไม่เหมาะสมครับเพราะสัญญานเราไปไกลรบกวนผู้อื่นเหมือนกัน


ข้อความนี้เห็นด้วยอย่างยิ่งครับ ::) ::) ::) ::) ::)


หัวข้อ: Re: ความเหมาะสม ในการใช้ วิทยุ เข้าโทน
เริ่มหัวข้อโดย: เรือรักกระดาษ = mintra ที่ 07 มิถุนายน 2011, 18:42:07
สริมอีกนิดครับ ควรจะใส่โทนใช้เฉพาะเสายางด้วยกันภายในโรงงาน โรงเรียน โรงแรม หรือหน่วยงานที่มีเครือข่ายเล็กๆภายในไม่ควรแพร่
กระจายคลื่นไปไกลๆ แต่ถ้าเสาสูงๆเครื่องส่งแรงๆการใส่โทนถือว่าไม่เหมาะสมครับเพราะสัญญานเราไปไกลรบกวนผู้อื่นเหมือนกัน


ข้อความนี้เห็นด้วยอย่างยิ่งครับ ::) ::) ::) ::) ::)
*1 แรงครับ
ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ�
ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ�


Webmaster Earn Money! By Affiliate Program 100% Pay
www.samuismile.com