HAMSIAM.COM # NO.1 HAM COMMUNITY OF THAILAND

HAMSIAM TECHNOLOGY => พูดคุยทั่วไป => ข้อความที่เริ่มโดย: แฮมโคราชา ที่ 09 ตุลาคม 2011, 12:14:57



หัวข้อ: ความถี่ประสานงานกรณีภัยพิบัติระดับประเทศครับ
เริ่มหัวข้อโดย: แฮมโคราชา ที่ 09 ตุลาคม 2011, 12:14:57
รายละเอียดตาม ประกาศคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การอนุญาตและการกำกับดูแลการใช้คลื่นความถี่กลาง สำหรับการติดต่อประสานงานระหว่างหน่วยงานของรัฐและประชาชน ในการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย และการแก้ไขปัญหาในกรณีที่ประเทศเกิดภัยพิบัติหรือเหตุฉุกเฉิน ก่อให้เกิด อันตรายแก่ชีวิต ร่างกายประชาชน หรือความเสียหายแก่ทรัพย์สินของประชาชนหรือหน่วยงานของรัฐ
http://www.nbtc.go.th/phocadownload/0520201142907Notification128-106-180554.pdf

(http://image.ohozaa.com/i/00f/ws55u.JPG)


หัวข้อ: Re: ความถี่ประสานงานกรณีภัยพิบัติระดับประเทศครับ
เริ่มหัวข้อโดย: ทูมิเตอร์ ที่ 09 ตุลาคม 2011, 12:37:16


เป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ... ขอบคุณครับ



หัวข้อ: Re: ความถี่ประสานงานกรณีภัยพิบัติระดับประเทศครับ
เริ่มหัวข้อโดย: just ที่ 09 ตุลาคม 2011, 13:06:16
ขอบคุณมากครับ


หัวข้อ: Re: ความถี่ประสานงานกรณีภัยพิบัติระดับประเทศครับ
เริ่มหัวข้อโดย: ksurachet ที่ 09 ตุลาคม 2011, 13:19:37
245.500 คือ CH-41 ของเครื่อง 80 ช่องใช่ไหมครับ ขอถามเผื่อเพื่อนที่ใช้แบบ 40 ช่องมันคือช่องไหนครับ ขอบคุณท่านแฮมโคราชาครับ :D


หัวข้อ: Re: ความถี่ประสานงานกรณีภัยพิบัติระดับประเทศครับ
เริ่มหัวข้อโดย: MR.BOY ที่ 09 ตุลาคม 2011, 13:25:49
เป็นความถี่กลางในการประสานงาน ก็ดีหากทำได้จริง   แต่มองความเป็นจริง

ภาครัฐไม่มีเครื่องวิทยุสื่อสารในแต่ละประเภท ไม่มีหน่วยงานกลางที่สแตนบายด์ในความถี่นี้ เขาเน้นโทรศัพท์มือถือ

อย่างความถี่ 27 MHz ก็เป็นความถี่ฉุกเฉิน แต่ความเป็นจริง ระเบียบของ กสทช. แย้งคือ ไม่สามารถตั้งสถานีวิทยุได้

ไม่มีเครื่องวิทยุสื่อสารจำหน่ายอย่างถูกต้อง ซึ่งคนเล่น 27 MHz ทราบดีกันทุกคน แต่เรื่องการติดต่อหวังผลได้ดี

เหมือนกันในประเทศ ที่สำคัญเป็นความถี่ประชาชน หาก กสทช.เลงเห็นควรแก้ไขระเบียบตรงนี้ใหม่

อีกอย่างที่ผมมอง รัฐ ไม่ค่อยได้เห็นความสำคัญของวิทยุสื่อสารมากเท่าไหร่เพราะยังมีระบบโทรศัพท์ใช้กันอยู่ ง่าย

ต่อการใช้งาน หากเป็นไปได้ควรจับมือผู้ใช้วิทยุสื่อสารทั้งหมด ที่อยู่ภายใต้ กสทช.ดูแล มาซักซ้อมความเข้าใจใหม่

หมด วางแผนและจัดตั้งศูนย์กลางที่คอยประสานงานทางวิทยุสื่อสารในความถี่ฉุกเฉินนั้นอย่างจริงจัง  ซึ่งภาครัฐจะ

เข้าใจความสำคัญของวิทยุสื่อสารก็ต่อเมื่อ ระบบสื่อสารล่มทุกระบบ ทั้ง ดาวเทียม เคเบิ้ล มือถือ นั่นแหละจะเป็นบท

เรียนที่ทุกคนจะต้องนำมาทบทวนการวางข่ายฉุกเฉินทางวิทยุสื่อสารให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น


หัวข้อ: Re: ความถี่ประสานงานกรณีภัยพิบัติระดับประเทศครับ
เริ่มหัวข้อโดย: wattanapon ที่ 09 ตุลาคม 2011, 14:40:08
เป็นความถี่กลางในการประสานงาน ก็ดีหากทำได้จริง   แต่มองความเป็นจริง

ภาครัฐไม่มีเครื่องวิทยุสื่อสารในแต่ละประเภท ไม่มีหน่วยงานกลางที่สแตนบายด์ในความถี่นี้ เขาเน้นโทรศัพท์มือถือ

อย่างความถี่ 27 MHz ก็เป็นความถี่ฉุกเฉิน แต่ความเป็นจริง ระเบียบของ กสทช. แย้งคือ ไม่สามารถตั้งสถานีวิทยุได้

ไม่มีเครื่องวิทยุสื่อสารจำหน่ายอย่างถูกต้อง ซึ่งคนเล่น 27 MHz ทราบดีกันทุกคน แต่เรื่องการติดต่อหวังผลได้ดี

เหมือนกันในประเทศ ที่สำคัญเป็นความถี่ประชาชน หาก กสทช.เลงเห็นควรแก้ไขระเบียบตรงนี้ใหม่

อีกอย่างที่ผมมอง รัฐ ไม่ค่อยได้เห็นความสำคัญของวิทยุสื่อสารมากเท่าไหร่เพราะยังมีระบบโทรศัพท์ใช้กันอยู่ ง่าย

ต่อการใช้งาน หากเป็นไปได้ควรจับมือผู้ใช้วิทยุสื่อสารทั้งหมด ที่อยู่ภายใต้ กสทช.ดูแล มาซักซ้อมความเข้าใจใหม่

หมด วางแผนและจัดตั้งศูนย์กลางที่คอยประสานงานทางวิทยุสื่อสารในความถี่ฉุกเฉินนั้นอย่างจริงจัง  ซึ่งภาครัฐจะ

เข้าใจความสำคัญของวิทยุสื่อสารก็ต่อเมื่อ ระบบสื่อสารล่มทุกระบบ ทั้ง ดาวเทียม เคเบิ้ล มือถือ นั่นแหละจะเป็นบท

เรียนที่ทุกคนจะต้องนำมาทบทวนการวางข่ายฉุกเฉินทางวิทยุสื่อสารให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น



โดนใจสุดๆๆ


หัวข้อ: Re: ความถี่ประสานงานกรณีภัยพิบัติระดับประเทศครับ
เริ่มหัวข้อโดย: jim ที่ 10 ตุลาคม 2011, 00:25:31
เป็นความถี่กลางในการประสานงาน ก็ดีหากทำได้จริง   แต่มองความเป็นจริง

ภาครัฐไม่มีเครื่องวิทยุสื่อสารในแต่ละประเภท ไม่มีหน่วยงานกลางที่สแตนบายด์ในความถี่นี้ เขาเน้นโทรศัพท์มือถือ

อย่างความถี่ 27 MHz ก็เป็นความถี่ฉุกเฉิน แต่ความเป็นจริง ระเบียบของ กสทช. แย้งคือ ไม่สามารถตั้งสถานีวิทยุได้

ไม่มีเครื่องวิทยุสื่อสารจำหน่ายอย่างถูกต้อง ซึ่งคนเล่น 27 MHz ทราบดีกันทุกคน แต่เรื่องการติดต่อหวังผลได้ดี

เหมือนกันในประเทศ ที่สำคัญเป็นความถี่ประชาชน หาก กสทช.เลงเห็นควรแก้ไขระเบียบตรงนี้ใหม่

อีกอย่างที่ผมมอง รัฐ ไม่ค่อยได้เห็นความสำคัญของวิทยุสื่อสารมากเท่าไหร่เพราะยังมีระบบโทรศัพท์ใช้กันอยู่ ง่าย

ต่อการใช้งาน หากเป็นไปได้ควรจับมือผู้ใช้วิทยุสื่อสารทั้งหมด ที่อยู่ภายใต้ กสทช.ดูแล มาซักซ้อมความเข้าใจใหม่

หมด วางแผนและจัดตั้งศูนย์กลางที่คอยประสานงานทางวิทยุสื่อสารในความถี่ฉุกเฉินนั้นอย่างจริงจัง  ซึ่งภาครัฐจะ

เข้าใจความสำคัญของวิทยุสื่อสารก็ต่อเมื่อ ระบบสื่อสารล่มทุกระบบ ทั้ง ดาวเทียม เคเบิ้ล มือถือ นั่นแหละจะเป็นบท

เรียนที่ทุกคนจะต้องนำมาทบทวนการวางข่ายฉุกเฉินทางวิทยุสื่อสารให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น



โดนใจสุดๆๆ
ตามนั้น


หัวข้อ: Re: ความถี่ประสานงานกรณีภัยพิบัติระดับปร
เริ่มหัวข้อโดย: ksurachet ที่ 10 ตุลาคม 2011, 00:59:44
245.500 กับ 145.500 วันนี้ผมขับรถจากราชบุรีเข้ากทม. เงียบตลอดทางท้งขาไปและกลับ จะมีก็ 245.500 บ้างเป็นคุยเล่นกัน :D

ถึงอย่างไรก็ขอขอบคุณท่านแฮมโคราชา ที่นำข่าวดี ๆ มาแจ้งให้ทราบครับ 73




---> ขอแก้ไขครับข้อความข้างบนจาก 145.500 เป็น 145.000 ผมพิมพ์ผิดครับ


หัวข้อ: Re: ความถี่ประสานงานกรณีภัยพิบัติระดับประเทศครับ
เริ่มหัวข้อโดย: Nato ที่ 10 ตุลาคม 2011, 01:14:11
245.500 คือ CH-41 ของเครื่อง 80 ช่องใช่ไหมครับ ขอถามเผื่อเพื่อนที่ใช้แบบ 40 ช่องมันคือช่องไหนครับ ขอบคุณท่านแฮมโคราชาครับ :D

ช่อง 21 ครับ


หัวข้อ: Re: ความถี่ประสานงานกรณีภัยพิบัติระดับประเทศครับ
เริ่มหัวข้อโดย: tonnam ที่ 10 ตุลาคม 2011, 08:11:14
ขอบคุณครับ


หัวข้อ: Re: ความถี่ประสานงานกรณีภัยพิบัติระดับประเทศครับ
เริ่มหัวข้อโดย: ton-ddpm ที่ 10 ตุลาคม 2011, 08:19:54
เป็นความถี่กลางในการประสานงาน ก็ดีหากทำได้จริง   แต่มองความเป็นจริง

ภาครัฐไม่มีเครื่องวิทยุสื่อสารในแต่ละประเภท ไม่มีหน่วยงานกลางที่สแตนบายด์ในความถี่นี้ เขาเน้นโทรศัพท์มือถือ

อย่างความถี่ 27 MHz ก็เป็นความถี่ฉุกเฉิน แต่ความเป็นจริง ระเบียบของ กสทช. แย้งคือ ไม่สามารถตั้งสถานีวิทยุได้

ไม่มีเครื่องวิทยุสื่อสารจำหน่ายอย่างถูกต้อง ซึ่งคนเล่น 27 MHz ทราบดีกันทุกคน แต่เรื่องการติดต่อหวังผลได้ดี

เหมือนกันในประเทศ ที่สำคัญเป็นความถี่ประชาชน หาก กสทช.เลงเห็นควรแก้ไขระเบียบตรงนี้ใหม่

อีกอย่างที่ผมมอง รัฐ ไม่ค่อยได้เห็นความสำคัญของวิทยุสื่อสารมากเท่าไหร่เพราะยังมีระบบโทรศัพท์ใช้กันอยู่ ง่าย

ต่อการใช้งาน หากเป็นไปได้ควรจับมือผู้ใช้วิทยุสื่อสารทั้งหมด ที่อยู่ภายใต้ กสทช.ดูแล มาซักซ้อมความเข้าใจใหม่

หมด วางแผนและจัดตั้งศูนย์กลางที่คอยประสานงานทางวิทยุสื่อสารในความถี่ฉุกเฉินนั้นอย่างจริงจัง  ซึ่งภาครัฐจะ

เข้าใจความสำคัญของวิทยุสื่อสารก็ต่อเมื่อ ระบบสื่อสารล่มทุกระบบ ทั้ง ดาวเทียม เคเบิ้ล มือถือ นั่นแหละจะเป็นบท

เรียนที่ทุกคนจะต้องนำมาทบทวนการวางข่ายฉุกเฉินทางวิทยุสื่อสารให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

ชอบๆๆครับ


หัวข้อ: Re: ความถี่ประสานงานกรณีภัยพิบัติระดับประเทศครับ
เริ่มหัวข้อโดย: sun_pom ที่ 10 ตุลาคม 2011, 08:21:45
+100000000


หัวข้อ: Re: ความถี่ประสานงานกรณีภัยพิบัติระดับประเทศครับ
เริ่มหัวข้อโดย: oho_chicken ที่ 10 ตุลาคม 2011, 08:51:27
เป็นความถี่กลางในการประสานงาน ก็ดีหากทำได้จริง   แต่มองความเป็นจริง

ภาครัฐไม่มีเครื่องวิทยุสื่อสารในแต่ละประเภท ไม่มีหน่วยงานกลางที่สแตนบายด์ในความถี่นี้ เขาเน้นโทรศัพท์มือถือ

อย่างความถี่ 27 MHz ก็เป็นความถี่ฉุกเฉิน แต่ความเป็นจริง ระเบียบของ กสทช. แย้งคือ ไม่สามารถตั้งสถานีวิทยุได้

ไม่มีเครื่องวิทยุสื่อสารจำหน่ายอย่างถูกต้อง ซึ่งคนเล่น 27 MHz ทราบดีกันทุกคน แต่เรื่องการติดต่อหวังผลได้ดี

เหมือนกันในประเทศ ที่สำคัญเป็นความถี่ประชาชน หาก กสทช.เลงเห็นควรแก้ไขระเบียบตรงนี้ใหม่

อีกอย่างที่ผมมอง รัฐ ไม่ค่อยได้เห็นความสำคัญของวิทยุสื่อสารมากเท่าไหร่เพราะยังมีระบบโทรศัพท์ใช้กันอยู่ ง่าย

ต่อการใช้งาน หากเป็นไปได้ควรจับมือผู้ใช้วิทยุสื่อสารทั้งหมด ที่อยู่ภายใต้ กสทช.ดูแล มาซักซ้อมความเข้าใจใหม่

หมด วางแผนและจัดตั้งศูนย์กลางที่คอยประสานงานทางวิทยุสื่อสารในความถี่ฉุกเฉินนั้นอย่างจริงจัง  ซึ่งภาครัฐจะ

เข้าใจความสำคัญของวิทยุสื่อสารก็ต่อเมื่อ ระบบสื่อสารล่มทุกระบบ ทั้ง ดาวเทียม เคเบิ้ล มือถือ นั่นแหละจะเป็นบท

เรียนที่ทุกคนจะต้องนำมาทบทวนการวางข่ายฉุกเฉินทางวิทยุสื่อสารให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น



โดนใจสุดๆๆ
ตามนั้น
+1


หัวข้อ: Re: ความถี่ประสานงานกรณีภัยพิบัติระดับประเทศครับ
เริ่มหัวข้อโดย: Mahartep171-HS3TJB ที่ 10 ตุลาคม 2011, 09:01:15
ขอบคุณสำหรับข้อมูล


หัวข้อ: Re: ความถี่ประสานงานกรณีภัยพิบัติระดับประเทศครับ
เริ่มหัวข้อโดย: HS3OGI ที่ 10 ตุลาคม 2011, 09:02:04
เรื่องดีๆ ครับ มีประโยชน์


หัวข้อ: Re: ความถี่ประสานงานกรณีภัยพิบัติระดับปร
เริ่มหัวข้อโดย: HS0EVY ที่ 10 ตุลาคม 2011, 16:31:17
245.500 กับ 145.500 วันนี้ผมขับรถจากราชบุรีเข้ากทม. เงียบตลอดทางท้งขาไปและกลับ จะมีก็ 245.500 บ้างเป็นคุยเล่นกัน :D
ถึงอย่างไรก็ขอขอบคุณท่านแฮมโคราชา ที่นำข่าวดี ๆ มาแจ้งให้ทราบครับ 73

อ้าว....ตกลงความถี่กลาง 145.500 ใช้หรือเปล่าว่ะเนี่ย....
ผมว่า อย่างน้อย ๆ ก็ต้องมีเจ้าหน้าที่รัฐฯ เฝ้าฟังและประชาสัมพันธุ์ให้ด้วย ไม่ใช่นั่งเงียบ ๆ มั่วแต่ฟังช่องอื่นอยู่....


หัวข้อ: Re: ความถี่ประสานงานกรณีภัยพิบัติระดับประเทศครับ
เริ่มหัวข้อโดย: ksurachet ที่ 10 ตุลาคม 2011, 16:38:40
245.500 กับ 145.500 วันนี้ผมขับรถจากราชบุรีเข้ากทม. เงียบตลอดทางท้งขาไปและกลับ จะมีก็ 245.500 บ้างเป็นคุยเล่นกัน :D
ถึงอย่างไรก็ขอขอบคุณท่านแฮมโคราชา ที่นำข่าวดี ๆ มาแจ้งให้ทราบครับ 73

อ้าว....ตกลงความถี่กลาง 145.500 ใช้หรือเปล่าว่ะเนี่ย....
ผมว่า อย่างน้อย ๆ ก็ต้องมีเจ้าหน้าที่รัฐฯ เฝ้าฟังและประชาสัมพันธุ์ให้ด้วย ไม่ใช่นั่งเงียบ ๆ มั่วแต่ฟังช่องอื่นอยู่....

แก้ไข 145.500 เป็น 145.000 ผมพิมพ์ผิดเองครับ แต่ผมไม่ได้ยินจริง ๆ ครับ :D


หัวข้อ: Re: ความถี่ประสานงานกรณีภัยพิบัติระดับประเทศครับ
เริ่มหัวข้อโดย: tachpong ที่ 10 ตุลาคม 2011, 16:39:34
ตอนนี้ HS1AB ตั้งศูนย์เฉพาะกิจที่สนามบินดอนเมืองครับ ที่ช่อง 144.900 ครับลองไปฟังดู


หัวข้อ: Re: ความถี่ประสานงานกรณีภัยพิบัติระดับประเทศครับ
เริ่มหัวข้อโดย: wanley ที่ 11 ตุลาคม 2011, 12:25:10
+10000000000000000000000000
กด like


หัวข้อ: Re: ความถี่ประสานงานกรณีภัยพิบัติระดับประเทศครับ
เริ่มหัวข้อโดย: hs4pov ที่ 11 ตุลาคม 2011, 12:40:21
(๔) อนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ ๒๗.๑๕๕ และ ๒๗.๒๑๕ เมกะเฮิรตซ์ ความกว้างแถบ
ความถี่ไม่เกิน ๑๐ กิโลเฮิรตซ์ โดยใช้เครื่องวิทยุคมนาคมสำหรับประชาชน (Citizens Band : CB)
กำลังส่งไม่เกิน ๒๐ วัตต์ (PEP) หรือตามที่คณะกรรมการกำหนด



20 W


หัวข้อ: Re: ความถี่ประสานงานกรณีภัยพิบัติระดับประเทศครับ
เริ่มหัวข้อโดย: HS4VNY ที่ 11 ตุลาคม 2011, 12:46:07
ขอบคุณข้อมูลมากครับ


หัวข้อ: Re: ความถี่ประสานงานกรณีภัยพิบัติระดับประเทศครับ
เริ่มหัวข้อโดย: E22KZZ[Karnt] ที่ 04 พฤศจิกายน 2011, 05:24:15

ขอบคุณครับ


หัวข้อ: Re: ความถี่ประสานงานกรณีภัยพิบัติระดับประเทศครับ
เริ่มหัวข้อโดย: surong.n ที่ 04 พฤศจิกายน 2011, 06:09:15
ขอบคุณครับ ;D ;D


หัวข้อ: Re: ความถี่ประสานงานกรณีภัยพิบัติระดับประเทศครับ
เริ่มหัวข้อโดย: ergo_ud ที่ 04 พฤศจิกายน 2011, 06:09:52
เป็นความถี่กลางในการประสานงาน ก็ดีหากทำได้จริง   แต่มองความเป็นจริง

ภาครัฐไม่มีเครื่องวิทยุสื่อสารในแต่ละประเภท ไม่มีหน่วยงานกลางที่สแตนบายด์ในความถี่นี้ เขาเน้นโทรศัพท์มือถือ

อย่างความถี่ 27 MHz ก็เป็นความถี่ฉุกเฉิน แต่ความเป็นจริง ระเบียบของ กสทช. แย้งคือ ไม่สามารถตั้งสถานีวิทยุได้

ไม่มีเครื่องวิทยุสื่อสารจำหน่ายอย่างถูกต้อง ซึ่งคนเล่น 27 MHz ทราบดีกันทุกคน แต่เรื่องการติดต่อหวังผลได้ดี

เหมือนกันในประเทศ ที่สำคัญเป็นความถี่ประชาชน หาก กสทช.เลงเห็นควรแก้ไขระเบียบตรงนี้ใหม่

อีกอย่างที่ผมมอง รัฐ ไม่ค่อยได้เห็นความสำคัญของวิทยุสื่อสารมากเท่าไหร่เพราะยังมีระบบโทรศัพท์ใช้กันอยู่ ง่าย

ต่อการใช้งาน หากเป็นไปได้ควรจับมือผู้ใช้วิทยุสื่อสารทั้งหมด ที่อยู่ภายใต้ กสทช.ดูแล มาซักซ้อมความเข้าใจใหม่

หมด วางแผนและจัดตั้งศูนย์กลางที่คอยประสานงานทางวิทยุสื่อสารในความถี่ฉุกเฉินนั้นอย่างจริงจัง  ซึ่งภาครัฐจะ

เข้าใจความสำคัญของวิทยุสื่อสารก็ต่อเมื่อ ระบบสื่อสารล่มทุกระบบ ทั้ง ดาวเทียม เคเบิ้ล มือถือ นั่นแหละจะเป็นบท

เรียนที่ทุกคนจะต้องนำมาทบทวนการวางข่ายฉุกเฉินทางวิทยุสื่อสารให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น


วิทยุสมัครเล่น 144.00-146.00 ก็มีทำมัยไม่ใช้...งง แล้วพอเราใช้แจ้งความถี่อื่นก็โดนว่า จะตามจับซะงัน


หัวข้อ: Re: ความถี่ประสานงานกรณีภัยพิบัติระดับประเทศครับ
เริ่มหัวข้อโดย: YA HARD CORE ที่ 04 พฤศจิกายน 2011, 12:25:47
ดีๆ เดี๋ยวมาcopy หาปลาก่อน ;D


หัวข้อ: Re: ความถี่ประสานงานกรณีภัยพิบัติระดับประเทศครับ
เริ่มหัวข้อโดย: Tham ที่ 04 พฤศจิกายน 2011, 12:34:22
แจ๋วเลย ขอบคุณครับ


หัวข้อ: Re: ความถี่ประสานงานกรณีภัยพิบัติระดับประเทศครับ
เริ่มหัวข้อโดย: bamboo ที่ 04 พฤศจิกายน 2011, 12:40:14
เป็นความถี่กลางในการประสานงาน ก็ดีหากทำได้จริง   แต่มองความเป็นจริง

ภาครัฐไม่มีเครื่องวิทยุสื่อสารในแต่ละประเภท ไม่มีหน่วยงานกลางที่สแตนบายด์ในความถี่นี้ เขาเน้นโทรศัพท์มือถือ

อย่างความถี่ 27 MHz ก็เป็นความถี่ฉุกเฉิน แต่ความเป็นจริง ระเบียบของ กสทช. แย้งคือ ไม่สามารถตั้งสถานีวิทยุได้

ไม่มีเครื่องวิทยุสื่อสารจำหน่ายอย่างถูกต้อง ซึ่งคนเล่น 27 MHz ทราบดีกันทุกคน แต่เรื่องการติดต่อหวังผลได้ดี

เหมือนกันในประเทศ ที่สำคัญเป็นความถี่ประชาชน หาก กสทช.เลงเห็นควรแก้ไขระเบียบตรงนี้ใหม่

อีกอย่างที่ผมมอง รัฐ ไม่ค่อยได้เห็นความสำคัญของวิทยุสื่อสารมากเท่าไหร่เพราะยังมีระบบโทรศัพท์ใช้กันอยู่ ง่าย

ต่อการใช้งาน หากเป็นไปได้ควรจับมือผู้ใช้วิทยุสื่อสารทั้งหมด ที่อยู่ภายใต้ กสทช.ดูแล มาซักซ้อมความเข้าใจใหม่

หมด วางแผนและจัดตั้งศูนย์กลางที่คอยประสานงานทางวิทยุสื่อสารในความถี่ฉุกเฉินนั้นอย่างจริงจัง  ซึ่งภาครัฐจะ

เข้าใจความสำคัญของวิทยุสื่อสารก็ต่อเมื่อ ระบบสื่อสารล่มทุกระบบ ทั้ง ดาวเทียม เคเบิ้ล มือถือ นั่นแหละจะเป็นบท

เรียนที่ทุกคนจะต้องนำมาทบทวนการวางข่ายฉุกเฉินทางวิทยุสื่อสารให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

เหตุผลง่ายๆที่ไม่ใช้วิทยุเพราะมันใหญ่ไม่ทันสมัยและไม่มีผลประโยชน์
ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ�
ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ�


Webmaster Earn Money! By Affiliate Program 100% Pay
www.samuismile.com