HAMSIAM.COM # NO.1 HAM COMMUNITY OF THAILAND

HAMSIAM TECHNOLOGY => พูดคุยทั่วไป => ข้อความที่เริ่มโดย: TAWEE ที่ 25 เมษายน 2011, 18:56:49



หัวข้อ: สอบถามผู้รู้หรือผู้ที่มีเอกสารเรื่องระบบบริการแพทย์ฉุกเฉินครับ
เริ่มหัวข้อโดย: TAWEE ที่ 25 เมษายน 2011, 18:56:49
สอบถามครับแต่ละจังหวัด ศพฉ.มีการบริหารเหมือนกันไหมครับตัวอย่างที่จังหวัดอุตรดิตถยกให้อบต.หรือเทศบาลทำทั้งหมดแล้วมูลนิธิกับสมาคมสองหน่วยงานเอกชนที่ทำมากว่า20ปีไม่มีพื้นที่วิ่งครับ(มีแค่2ตำบลที่ไม่ทำ)สอบถามเจ้าหน้าที่กู้ชีพแจ้งว่าให้ไปสอบถาม ผอ.ศพฉ.เองปรากฏว่าไม่มีเขตให้วิ่งครับจึงอยากลองสอบถามแต่ละจังหวัดดูครับว่าเป็นเหมือนที่อุตรดิตถ์ไหมครับ...ไม่ได้ตั้งกระทู้เพื่อความคิดเห็นที่ขัดแย้งแต่ต้องการความรู้ไปพัฒนาองค์กรครับ(ตัวผมเองก็วิ่งฟรีไม่มีเคทมา4-5ปีแล้วครับเพราะแจ้งว่าเป็นเขตอบต.ครับ


หัวข้อ: Re: สอบถามผู้รู้หรือผู้ที่มีเอกสารเรื่องระบบบริการแพทย์ฉุกเฉินครับ
เริ่มหัวข้อโดย: rescue ที่ 25 เมษายน 2011, 19:20:51
ที่จังหวัดที่ผมอยู่เขาก็ทำเหมือนกันคือเขาจะจัดระเบียบอาสาฯให้เข้าระบบจึงบังคับกลายๆว่าต้องเข้าไปสังกัด อบต. หรือ เทศบาล และต้องขึ้นทะเบียนทั้งรถทั้งคนให้ถูกต้อง ส่วนจะวิ่งเอาเคสหรือไม่นั้นอยู่ที่เราแต่ต้องขึ้นทะเบียนก่อนต่อไปใครที่ไม่ได้ขึ้นทะเบียนก็จะวิ่งลำบากครับ ใจจริงผมก็ไม่อยากให้มีระบบจ่ายค่าตอบแทนเพราะทำไปทำมามีแต่คนมาหาผลประโยชน์ แต่ก็ในเมื่อเรารักงานแบบนี้ก็ต้องทำตามเขาครับ :D


หัวข้อ: Re: สอบถามผู้รู้หรือผู้ที่มีเอกสารเรื่องระบบบริการแพทย์ฉุกเฉินครับ
เริ่มหัวข้อโดย: สายน้ำ ที่ 25 เมษายน 2011, 20:06:49

ผมอาสาเหมือนกันครับ(FR) อยู่ในระบบ เท่าใดเท่านั้นครับ ไม่มีบาดเจ๊บล้มตายเลยยี่งดี


หัวข้อ: Re: สอบถามผู้รู้หรือผู้ที่มีเอกสารเรื่องระบบบริการแพทย์ฉุกเฉินครับ
เริ่มหัวข้อโดย: RCT#239 ที่ 25 เมษายน 2011, 20:13:41
สอบถามครับแต่ละจังหวัด ศพฉ.มีการบริหารเหมือนกันไหมครับตัวอย่างที่จังหวัดอุตรดิตถยกให้อบต.หรือเทศบาลทำทั้งหมดแล้วมูลนิธิกับสมาคมสองหน่วยงานเอกชนที่ทำมากว่า20ปีไม่มีพื้นที่วิ่งครับ(มีแค่2ตำบลที่ไม่ทำ)สอบถามเจ้าหน้าที่กู้ชีพแจ้งว่าให้ไปสอบถาม ผอ.ศพฉ.เองปรากฏว่าไม่มีเขตให้วิ่งครับจึงอยากลองสอบถามแต่ละจังหวัดดูครับว่าเป็นเหมือนที่อุตรดิตถ์ไหมครับ...ไม่ได้ตั้งกระทู้เพื่อความคิดเห็นที่ขัดแย้งแต่ต้องการความรู้ไปพัฒนาองค์กรครับ(ตัวผมเองก็วิ่งฟรีไม่มีเคทมา4-5ปีแล้วครับเพราะแจ้งว่าเป็นเขตอบต.ครับ

ลองไม่จ่ายค่าเคสดูสิ ไม่มีใครวิ่งหรอก มีแต่อาสาทั้งนั้นที่วิ่ง อบต.ก็หวังค่าเคสไม่มีการที่จะช่วยเหลือโดยเอางบ อบต.ออกมาหรอก เห็นมีจ่ายค่าเคสเลยออกมาทำอย่างน้อยเพื่อเป็นการเอาหน้าเอาตาแต่ละที่ ผมจะไม่ต่อยาวกับ อบต. พูดแล้วเจ็บใจ เซ็ง


หัวข้อ: Re: สอบถามผู้รู้หรือผู้ที่มีเอกสารเรื่องระบบบริการแพทย์ฉุกเฉินครับ
เริ่มหัวข้อโดย: HS4PFI ที่ 26 เมษายน 2011, 07:29:58
 :Pความเห็นสวนตัวผมอาสาไม่มีวันตายคนเก่าหมดไฟคนใหม่เข้ามาทำแทน แต่ อบต ไม่มีค่าเคสไม่มีงบ ก็ไม่วิ้งแล้วครับ คงไม่มีใครออกค่าน้ำมันเองแบบอาสา ที่ต่างจังหวัดไกลๆ ที่ไม่ค้อยมีเหตุ เคสมีน้อยพนักงานกู้ชืพ อบต ก็ไม่มีใครอย่ากออกเวนแล้วครับ


หัวข้อ: Re: สอบถามผู้รู้หรือผู้ที่มีเอกสารเรื่องระบบบริการแพทย์ฉุกเฉินครับ
เริ่มหัวข้อโดย: TAWEE ที่ 26 เมษายน 2011, 18:14:39
ทุกวันนี้ก็เข้าระบบแล้วครับแต่ระบบแล้วครับแต่ระบุว่าเรียก อ บ ต 3ครั้งไม่ว2ให้เรียกกู้ภัยเขตหน้าจุดก้ไม่ใช่เขตครับเป็นของ อ บ ต  ครับเรื่องนี้เรื่องจริงครับกู้ภัยเขตแต่ไม่มีเขตวิ่งครับ


หัวข้อ: Re: สอบถามผู้รู้หรือผู้ที่มีเอกสารเรื่องระบบบริการแพทย์ฉุกเฉินครับ
เริ่มหัวข้อโดย: E20MBS ที่ 26 เมษายน 2011, 19:16:20
ขอแสดงความคิดเห็นซักนิด
สอบถามครับแต่ละจังหวัด ศพฉ.มีการบริหารเหมือนกันไหมครับตัวอย่างที่จังหวัดอุตรดิตถยกให้อบต.หรือเทศบาลทำทั้งหมดแล้วมูลนิธิกับสมาคมสองหน่วยงานเอกชนที่ทำมากว่า20ปีไม่มีพื้นที่วิ่งครับ(มีแค่2ตำบลที่ไม่ทำ)สอบถามเจ้าหน้าที่กู้ชีพแจ้งว่าให้ไปสอบถาม ผอ.ศพฉ.เองปรากฏว่าไม่มีเขตให้วิ่งครับจึงอยากลองสอบถามแต่ละจังหวัดดูครับว่าเป็นเหมือนที่อุตรดิตถ์ไหมครับ...ไม่ได้ตั้งกระทู้เพื่อความคิดเห็นที่ขัดแย้งแต่ต้องการความรู้ไปพัฒนาองค์กรครับ(ตัวผมเองก็วิ่งฟรีไม่มีเคทมา4-5ปีแล้วครับเพราะแจ้งว่าเป็นเขตอบต.ครับ

1. สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ใช้ตัวย่อว่า "สพฉ."  มีเลขาธิการสถาบันฯเป็นผู้บริหารสูงสุด
2. การจัดแบ่งพื้นที่ปฏิบัติงานของแต่ละจังหวัด เป็นอำนาจการบริหารจัดการระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแต่ละจังหวัด  หน่วยที่จะเข้าระบบการแพทย์ฉุกเฉิน สถานะต้องเป็นนิติบุคคล  ถ้าหน่วยงานท่านต้องการพื้นที่ ว.4 ให้ติดต่อ สสจ.(สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด) แจ้งความประสงค์ขอจดทะเบียนเข้าระบบการแพทย์ฉุกเฉินให้ถูกต้องตามกฎหมายเลย (มูลนิธิก็เข้าได้แต่ต้องเข้าในนามของหน่วยงาน  อาสาจะไปเข้าระบบเองเป็นรายบุคคลไม่ได้) อดีตเรามูลนิธิ-อาสากู้ภัย  เป็นจิตอาสาทำโดยไม่หวังสิ่งตอบแทน  วิ่งช่วยเหลือกันเอง จัดแบ่งพื้นที่กันเอง ช่วยกันตามอัตภาพ เป็นสิ่งที่ประเสริฐสุดๆ  แต่เรายังขาดคุณภาพ ขาดความรู้ ขาดวิชาการ ขาดมาตรฐานไม่ทัดเทียมนานาชาติ  ไม่เป็นที่ยอมรับของต่างชาติ  ซึ่งปัจจุบันเรามี พ.ร.บ.การแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ.2551 มีการพัฒนา จัดระเบียบ มีกฎ มีมาตรฐาน ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินให้ได้มาตรฐานสากล เป็นที่ยอมรับของต่างชาติ 

สอบถามครับแต่ละจังหวัด ศพฉ.มีการบริหารเหมือนกันไหมครับตัวอย่างที่จังหวัดอุตรดิตถยกให้อบต.หรือเทศบาลทำทั้งหมดแล้วมูลนิธิกับสมาคมสองหน่วยงานเอกชนที่ทำมากว่า20ปีไม่มีพื้นที่วิ่งครับ(มีแค่2ตำบลที่ไม่ทำ)สอบถามเจ้าหน้าที่กู้ชีพแจ้งว่าให้ไปสอบถาม ผอ.ศพฉ.เองปรากฏว่าไม่มีเขตให้วิ่งครับจึงอยากลองสอบถามแต่ละจังหวัดดูครับว่าเป็นเหมือนที่อุตรดิตถ์ไหมครับ...ไม่ได้ตั้งกระทู้เพื่อความคิดเห็นที่ขัดแย้งแต่ต้องการความรู้ไปพัฒนาองค์กรครับ(ตัวผมเองก็วิ่งฟรีไม่มีเคทมา4-5ปีแล้วครับเพราะแจ้งว่าเป็นเขตอบต.ครับ

ลองไม่จ่ายค่าเคสดูสิ ไม่มีใครวิ่งหรอก มีแต่อาสาทั้งนั้นที่วิ่ง อบต.ก็หวังค่าเคสไม่มีการที่จะช่วยเหลือโดยเอางบ อบต.ออกมาหรอก เห็นมีจ่ายค่าเคสเลยออกมาทำอย่างน้อยเพื่อเป็นการเอาหน้าเอาตาแต่ละที่ ผมจะไม่ต่อยาวกับ อบต. พูดแล้วเจ็บใจ เซ็ง
3. การจ่ายค่าตอบแทนหรือที่ทุกคนว่าเป็นค่าเคสนั้น เป็นการจัดสรรเงินงบประมาณ จากทุกท่านที่ทำงานโดนหักจ่ายเงินเข้ากองทุนหลักประกันสุขภาพฯ และนำกลับมาเป็นสวัสดิการสังคมฟรีให้กับประชาชนทุกคน  เหมือนรถเมล์ฟรี  รถไฟฟรี  ค่าไฟฟ้าฟรี  ค่าน้ำฟรี  สิทธิ 30 บาทรักษาทุกโรค  หรือปัจจุบันเป็นบัตรทอง  ซึ่งการจ่ายเงินจัดสรรงบประมาณนี้  จะนับตามจำนวนที่นำส่งผู้ป่วยไปโรงพยาบาล  ถ้าเป็น  ALS =1000  BLS=500  FR=350  เลยทำให้ทุกท่านคิดว่าหน่วยงานที่เข้าระบบฯนี้ วิ่งรับค่าเคส

อยากจะให้ท่านที่มีความคิดแตกต่างไป  เข้าใจระบบใหม่นี้  ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินนั้นไม่ได้มีแต่เหตุ ว.40 อย่างที่ท่านๆวิ่งกันเท่านั้น  ปัจจุบันจะเห็นได้ว่ามีภัยธรรมชาติใหญ่ที่เกิดขึ้นเช่น สึนามิ วาตภัย  อุทกภัย ฯลฯ  ซึ่งเกิดขึ้นแต่ละครั้งทำให้เกิดการเสียชีวิต บาดเจ็บเป็นจำนวนมาก ถ้าไม่มีการจัดระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินโดยให้มูลนิธิ-อาสากู้ภัย วิ่งช่วยเหลือกันเหมือนสมัยก่อนๆ  ลองนึกถึงเหตุสึนามิครั้งที่แล้วที่เราโดนด้วยพร้อมกันกับหลายๆประเทศ  ประเทศที่ไม่มีระบบฯที่มีมาตรฐานจะวุ่นวายไปหมด   แต่ประเทศที่มีระบบดีเช่นญี่ปุ่นมีการช่วยเหลือได้อย่างมีประสิทธิภาพ  คนที่ได้ประโยชน์จากระบบที่ดีก็คือ "ประชาชนของประเทศนั้น"   โลกใบนี้กำลังมีภัยธรรมชาติรุนแรงเข้ามาใกล้ตัวเราขึ้นทุกวัน  พวกเราทุกคน ทุกหน่วยงาน มีส่วนร่วมกันพัฒนาระบบ  ประเทศนี้เป็นของพวกเราทุกคน  เราต้องช่วยกัน ก้าวหน้าไปพร้อมๆกัน ผ่านวิกฤตนี้ไปให้ได้....ขอบคุณครับ ;D ;D ;Dติดลมออกความคิดซะยาวเลย


หัวข้อ: Re: สอบถามผู้รู้หรือผู้ที่มีเอกสารเรื่องระบบบริการแพทย์ฉุกเฉินครับ
เริ่มหัวข้อโดย: TAWEE ที่ 27 เมษายน 2011, 10:11:19
ขอแสดงความคิดเห็นซักนิด
สอบถามครับแต่ละจังหวัด ศพฉ.มีการบริหารเหมือนกันไหมครับตัวอย่างที่จังหวัดอุตรดิตถยกให้อบต.หรือเทศบาลทำทั้งหมดแล้วมูลนิธิกับสมาคมสองหน่วยงานเอกชนที่ทำมากว่า20ปีไม่มีพื้นที่วิ่งครับ(มีแค่2ตำบลที่ไม่ทำ)สอบถามเจ้าหน้าที่กู้ชีพแจ้งว่าให้ไปสอบถาม ผอ.ศพฉ.เองปรากฏว่าไม่มีเขตให้วิ่งครับจึงอยากลองสอบถามแต่ละจังหวัดดูครับว่าเป็นเหมือนที่อุตรดิตถ์ไหมครับ...ไม่ได้ตั้งกระทู้เพื่อความคิดเห็นที่ขัดแย้งแต่ต้องการความรู้ไปพัฒนาองค์กรครับ(ตัวผมเองก็วิ่งฟรีไม่มีเคทมา4-5ปีแล้วครับเพราะแจ้งว่าเป็นเขตอบต.ครับ

1. สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ใช้ตัวย่อว่า "สพฉ."  มีเลขาธิการสถาบันฯเป็นผู้บริหารสูงสุด
2. การจัดแบ่งพื้นที่ปฏิบัติงานของแต่ละจังหวัด เป็นอำนาจการบริหารจัดการระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแต่ละจังหวัด  หน่วยที่จะเข้าระบบการแพทย์ฉุกเฉิน สถานะต้องเป็นนิติบุคคล  ถ้าหน่วยงานท่านต้องการพื้นที่ ว.4 ให้ติดต่อ สสจ.(สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด) แจ้งความประสงค์ขอจดทะเบียนเข้าระบบการแพทย์ฉุกเฉินให้ถูกต้องตามกฎหมายเลย (มูลนิธิก็เข้าได้แต่ต้องเข้าในนามของหน่วยงาน  อาสาจะไปเข้าระบบเองเป็นรายบุคคลไม่ได้) อดีตเรามูลนิธิ-อาสากู้ภัย  เป็นจิตอาสาทำโดยไม่หวังสิ่งตอบแทน  วิ่งช่วยเหลือกันเอง จัดแบ่งพื้นที่กันเอง ช่วยกันตามอัตภาพ เป็นสิ่งที่ประเสริฐสุดๆ  แต่เรายังขาดคุณภาพ ขาดความรู้ ขาดวิชาการ ขาดมาตรฐานไม่ทัดเทียมนานาชาติ  ไม่เป็นที่ยอมรับของต่างชาติ  ซึ่งปัจจุบันเรามี พ.ร.บ.การแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ.2551 มีการพัฒนา จัดระเบียบ มีกฎ มีมาตรฐาน ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินให้ได้มาตรฐานสากล เป็นที่ยอมรับของต่างชาติ 

สอบถามครับแต่ละจังหวัด ศพฉ.มีการบริหารเหมือนกันไหมครับตัวอย่างที่จังหวัดอุตรดิตถยกให้อบต.หรือเทศบาลทำทั้งหมดแล้วมูลนิธิกับสมาคมสองหน่วยงานเอกชนที่ทำมากว่า20ปีไม่มีพื้นที่วิ่งครับ(มีแค่2ตำบลที่ไม่ทำ)สอบถามเจ้าหน้าที่กู้ชีพแจ้งว่าให้ไปสอบถาม ผอ.ศพฉ.เองปรากฏว่าไม่มีเขตให้วิ่งครับจึงอยากลองสอบถามแต่ละจังหวัดดูครับว่าเป็นเหมือนที่อุตรดิตถ์ไหมครับ...ไม่ได้ตั้งกระทู้เพื่อความคิดเห็นที่ขัดแย้งแต่ต้องการความรู้ไปพัฒนาองค์กรครับ(ตัวผมเองก็วิ่งฟรีไม่มีเคทมา4-5ปีแล้วครับเพราะแจ้งว่าเป็นเขตอบต.ครับ

ลองไม่จ่ายค่าเคสดูสิ ไม่มีใครวิ่งหรอก มีแต่อาสาทั้งนั้นที่วิ่ง อบต.ก็หวังค่าเคสไม่มีการที่จะช่วยเหลือโดยเอางบ อบต.ออกมาหรอก เห็นมีจ่ายค่าเคสเลยออกมาทำอย่างน้อยเพื่อเป็นการเอาหน้าเอาตาแต่ละที่ ผมจะไม่ต่อยาวกับ อบต. พูดแล้วเจ็บใจ เซ็ง
3. การจ่ายค่าตอบแทนหรือที่ทุกคนว่าเป็นค่าเคสนั้น เป็นการจัดสรรเงินงบประมาณ จากทุกท่านที่ทำงานโดนหักจ่ายเงินเข้ากองทุนหลักประกันสุขภาพฯ และนำกลับมาเป็นสวัสดิการสังคมฟรีให้กับประชาชนทุกคน  เหมือนรถเมล์ฟรี  รถไฟฟรี  ค่าไฟฟ้าฟรี  ค่าน้ำฟรี  สิทธิ 30 บาทรักษาทุกโรค  หรือปัจจุบันเป็นบัตรทอง  ซึ่งการจ่ายเงินจัดสรรงบประมาณนี้  จะนับตามจำนวนที่นำส่งผู้ป่วยไปโรงพยาบาล  ถ้าเป็น  ALS =1000  BLS=500  FR=350  เลยทำให้ทุกท่านคิดว่าหน่วยงานที่เข้าระบบฯนี้ วิ่งรับค่าเคส

อยากจะให้ท่านที่มีความคิดแตกต่างไป  เข้าใจระบบใหม่นี้  ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินนั้นไม่ได้มีแต่เหตุ ว.40 อย่างที่ท่านๆวิ่งกันเท่านั้น  ปัจจุบันจะเห็นได้ว่ามีภัยธรรมชาติใหญ่ที่เกิดขึ้นเช่น สึนามิ วาตภัย  อุทกภัย ฯลฯ  ซึ่งเกิดขึ้นแต่ละครั้งทำให้เกิดการเสียชีวิต บาดเจ็บเป็นจำนวนมาก ถ้าไม่มีการจัดระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินโดยให้มูลนิธิ-อาสากู้ภัย วิ่งช่วยเหลือกันเหมือนสมัยก่อนๆ  ลองนึกถึงเหตุสึนามิครั้งที่แล้วที่เราโดนด้วยพร้อมกันกับหลายๆประเทศ  ประเทศที่ไม่มีระบบฯที่มีมาตรฐานจะวุ่นวายไปหมด   แต่ประเทศที่มีระบบดีเช่นญี่ปุ่นมีการช่วยเหลือได้อย่างมีประสิทธิภาพ  คนที่ได้ประโยชน์จากระบบที่ดีก็คือ "ประชาชนของประเทศนั้น"   โลกใบนี้กำลังมีภัยธรรมชาติรุนแรงเข้ามาใกล้ตัวเราขึ้นทุกวัน  พวกเราทุกคน ทุกหน่วยงาน มีส่วนร่วมกันพัฒนาระบบ  ประเทศนี้เป็นของพวกเราทุกคน  เราต้องช่วยกัน ก้าวหน้าไปพร้อมๆกัน ผ่านวิกฤตนี้ไปให้ได้....ขอบคุณครับ ;D ;D ;Dติดลมออกความคิดซะยาวเลย
.......รับทราบพี่....ว่าจะเรียนEMTแล้วคงไม่เรียนแล้วครับ....พี่ให้นายละเอียดเยอะจริงจริง....เรียนมาก็ไม่ได้ใช้.....ขอบคุณครับที่ให้ข้อมูลครับ...


หัวข้อ: Re: สอบถามผู้รู้หรือผู้ที่มีเอกสารเรื่องระบบบริการแพทย์ฉุกเฉินครับ
เริ่มหัวข้อโดย: สายน้ำ ที่ 27 เมษายน 2011, 10:28:05
ขอแสดงความคิดเห็นซักนิด
สอบถามครับแต่ละจังหวัด ศพฉ.มีการบริหารเหมือนกันไหมครับตัวอย่างที่จังหวัดอุตรดิตถยกให้อบต.หรือเทศบาลทำทั้งหมดแล้วมูลนิธิกับสมาคมสองหน่วยงานเอกชนที่ทำมากว่า20ปีไม่มีพื้นที่วิ่งครับ(มีแค่2ตำบลที่ไม่ทำ)สอบถามเจ้าหน้าที่กู้ชีพแจ้งว่าให้ไปสอบถาม ผอ.ศพฉ.เองปรากฏว่าไม่มีเขตให้วิ่งครับจึงอยากลองสอบถามแต่ละจังหวัดดูครับว่าเป็นเหมือนที่อุตรดิตถ์ไหมครับ...ไม่ได้ตั้งกระทู้เพื่อความคิดเห็นที่ขัดแย้งแต่ต้องการความรู้ไปพัฒนาองค์กรครับ(ตัวผมเองก็วิ่งฟรีไม่มีเคทมา4-5ปีแล้วครับเพราะแจ้งว่าเป็นเขตอบต.ครับ

1. สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ใช้ตัวย่อว่า "สพฉ."  มีเลขาธิการสถาบันฯเป็นผู้บริหารสูงสุด
2. การจัดแบ่งพื้นที่ปฏิบัติงานของแต่ละจังหวัด เป็นอำนาจการบริหารจัดการระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแต่ละจังหวัด  หน่วยที่จะเข้าระบบการแพทย์ฉุกเฉิน สถานะต้องเป็นนิติบุคคล  ถ้าหน่วยงานท่านต้องการพื้นที่ ว.4 ให้ติดต่อ สสจ.(สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด) แจ้งความประสงค์ขอจดทะเบียนเข้าระบบการแพทย์ฉุกเฉินให้ถูกต้องตามกฎหมายเลย (มูลนิธิก็เข้าได้แต่ต้องเข้าในนามของหน่วยงาน  อาสาจะไปเข้าระบบเองเป็นรายบุคคลไม่ได้) อดีตเรามูลนิธิ-อาสากู้ภัย  เป็นจิตอาสาทำโดยไม่หวังสิ่งตอบแทน  วิ่งช่วยเหลือกันเอง จัดแบ่งพื้นที่กันเอง ช่วยกันตามอัตภาพ เป็นสิ่งที่ประเสริฐสุดๆ  แต่เรายังขาดคุณภาพ ขาดความรู้ ขาดวิชาการ ขาดมาตรฐานไม่ทัดเทียมนานาชาติ  ไม่เป็นที่ยอมรับของต่างชาติ  ซึ่งปัจจุบันเรามี พ.ร.บ.การแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ.2551 มีการพัฒนา จัดระเบียบ มีกฎ มีมาตรฐาน ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินให้ได้มาตรฐานสากล เป็นที่ยอมรับของต่างชาติ 

สอบถามครับแต่ละจังหวัด ศพฉ.มีการบริหารเหมือนกันไหมครับตัวอย่างที่จังหวัดอุตรดิตถยกให้อบต.หรือเทศบาลทำทั้งหมดแล้วมูลนิธิกับสมาคมสองหน่วยงานเอกชนที่ทำมากว่า20ปีไม่มีพื้นที่วิ่งครับ(มีแค่2ตำบลที่ไม่ทำ)สอบถามเจ้าหน้าที่กู้ชีพแจ้งว่าให้ไปสอบถาม ผอ.ศพฉ.เองปรากฏว่าไม่มีเขตให้วิ่งครับจึงอยากลองสอบถามแต่ละจังหวัดดูครับว่าเป็นเหมือนที่อุตรดิตถ์ไหมครับ...ไม่ได้ตั้งกระทู้เพื่อความคิดเห็นที่ขัดแย้งแต่ต้องการความรู้ไปพัฒนาองค์กรครับ(ตัวผมเองก็วิ่งฟรีไม่มีเคทมา4-5ปีแล้วครับเพราะแจ้งว่าเป็นเขตอบต.ครับ

ลองไม่จ่ายค่าเคสดูสิ ไม่มีใครวิ่งหรอก มีแต่อาสาทั้งนั้นที่วิ่ง อบต.ก็หวังค่าเคสไม่มีการที่จะช่วยเหลือโดยเอางบ อบต.ออกมาหรอก เห็นมีจ่ายค่าเคสเลยออกมาทำอย่างน้อยเพื่อเป็นการเอาหน้าเอาตาแต่ละที่ ผมจะไม่ต่อยาวกับ อบต. พูดแล้วเจ็บใจ เซ็ง
3. การจ่ายค่าตอบแทนหรือที่ทุกคนว่าเป็นค่าเคสนั้น เป็นการจัดสรรเงินงบประมาณ จากทุกท่านที่ทำงานโดนหักจ่ายเงินเข้ากองทุนหลักประกันสุขภาพฯ และนำกลับมาเป็นสวัสดิการสังคมฟรีให้กับประชาชนทุกคน  เหมือนรถเมล์ฟรี  รถไฟฟรี  ค่าไฟฟ้าฟรี  ค่าน้ำฟรี  สิทธิ 30 บาทรักษาทุกโรค  หรือปัจจุบันเป็นบัตรทอง  ซึ่งการจ่ายเงินจัดสรรงบประมาณนี้  จะนับตามจำนวนที่นำส่งผู้ป่วยไปโรงพยาบาล  ถ้าเป็น  ALS =1000  BLS=500  FR=350  เลยทำให้ทุกท่านคิดว่าหน่วยงานที่เข้าระบบฯนี้ วิ่งรับค่าเคส

อยากจะให้ท่านที่มีความคิดแตกต่างไป  เข้าใจระบบใหม่นี้  ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินนั้นไม่ได้มีแต่เหตุ ว.40 อย่างที่ท่านๆวิ่งกันเท่านั้น  ปัจจุบันจะเห็นได้ว่ามีภัยธรรมชาติใหญ่ที่เกิดขึ้นเช่น สึนามิ วาตภัย  อุทกภัย ฯลฯ  ซึ่งเกิดขึ้นแต่ละครั้งทำให้เกิดการเสียชีวิต บาดเจ็บเป็นจำนวนมาก ถ้าไม่มีการจัดระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินโดยให้มูลนิธิ-อาสากู้ภัย วิ่งช่วยเหลือกันเหมือนสมัยก่อนๆ  ลองนึกถึงเหตุสึนามิครั้งที่แล้วที่เราโดนด้วยพร้อมกันกับหลายๆประเทศ  ประเทศที่ไม่มีระบบฯที่มีมาตรฐานจะวุ่นวายไปหมด   แต่ประเทศที่มีระบบดีเช่นญี่ปุ่นมีการช่วยเหลือได้อย่างมีประสิทธิภาพ  คนที่ได้ประโยชน์จากระบบที่ดีก็คือ "ประชาชนของประเทศนั้น"   โลกใบนี้กำลังมีภัยธรรมชาติรุนแรงเข้ามาใกล้ตัวเราขึ้นทุกวัน  พวกเราทุกคน ทุกหน่วยงาน มีส่วนร่วมกันพัฒนาระบบ  ประเทศนี้เป็นของพวกเราทุกคน  เราต้องช่วยกัน ก้าวหน้าไปพร้อมๆกัน ผ่านวิกฤตนี้ไปให้ได้....ขอบคุณครับ ;D ;D ;Dติดลมออกความคิดซะยาวเลย

+1 ทุกครั้งที่ว่างๆๆงาน ไปร่วมงานกู้ภัยจะภาวนาว่า(อย่ามีเหตุนาเฟ้ยตรูนะหลับ) อิอิ
ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ�
ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ�


Webmaster Earn Money! By Affiliate Program 100% Pay
www.samuismile.com