HAMSIAM.COM # NO.1 HAM COMMUNITY OF THAILAND

HAMSIAM TECHNOLOGY => ซื้อ-ขาย อุปกรณ์กู้ภัย กู้ชีพ => ข้อความที่เริ่มโดย: e22mxe ที่ 07 มกราคม 2011, 00:33:17



หัวข้อ: ขออนุญาติเพื่อนสมาชิกเล่นเกมส์
เริ่มหัวข้อโดย: e22mxe ที่ 07 มกราคม 2011, 00:33:17
สวัสดีครับ  ผม E22MXE  เนื่องด้วยตัวผมเองได้รับสิ่งดีๆ และมิตรภาพ ความรู้ คำแนะนำ ตลอดจนของขวัญปีใหม่ 2554 จากเพื่อนสมาชิกหลายท่าน  ตัวผมเองก็กำลังคิดที่จะนำสินค้ามาจำหน่ายในเว็บนี้อยู่   แต่ติดที่ถ่ายงานซับซ้อน  จนตัดใจเรื่องนี้ก่อน  มาเข้าเรื่องดีกว่าครับ....................ผมขอมอบของขวัญปีใหม่ 2554 ให้กับสมาชิกท่านใดที่สามารถตอบคำถามกระผมได้ตรงใจ 10 ข้อ  กระผมยินดีขอมอบของขวัญเป็น ชุดช่วยหายใจมือบีบสำหรับผู้ใหญ่ 1 ชุด ราคาขาย 4,000 บาท ยี่ห้อ 4-LIFE ของ THAILAND (สั่งผลิตไต้หวัน)พร้อมใช้งาน  โดยสามารถเล่นเกมส์ได้ตลอดจนครบกำหนดคือวันจันทร์ 10 มกราคม 2554 เวลา 09.00 น.  เมื่อครบกำหนด กระผมจะคัดเลือกผู้ชนะเพียงท่านเดียวในการรับของขวัญชิ้นนี้  และจัดส่งให้แบบลงทะเบียนไม่เกินวันอังคาร 11 มกราคม 2554 ครับ

4  ชุดช่วยหายใจชนิดใช้มือบีบสำหรับผู้ใหญ่ 1 ชุดในชุดประกอบด้วย
1.4.1   ถุงลมสำหรับบีบอากาศช่วยหายใจผลิตจากยางซิลิโคนแบบมี Pressure release วาวล์  สำหรับผู้ใหญ่มีปริมาตรอย่างน้อย 1700 มล. จำนวนอย่างละ 1 ชิ้น
1.4.2   ถุงสำรองออกซิเจนจำนวน 1 ชิ้น (reservoir bag)   
1.4.3   หน้ากากครอบปากและจมูกแบบโปร่งใส จำนวน 2 ขนาด ขนาดละ 1 อัน
1.4.4   ท่อยางป้องกันคนไข้กัดลิ้นจำนวน 3 อัน
1.4.5   กล่องบรรจุอุปกรณ์การใช้งานทั้งหมด

(http://i569.photobucket.com/albums/ss137/sarun_noi/IMG_0020_resize.jpg)


คำถาม 10 ข้อ มีดังต่อไปนี้

1.คำขวัญ วันเด็กแห่งชาติ  ปี 2544 คือ?

2. คำย่อ "สพฉ."  ย่อมาจากอะไร?

3.รถปฎฺบัติการฉุกเฉินสำหรับชุดปฏฺบัติการระดับกลางและระดับสูง รถพยาบาลที่กำหนดไว้ในประกาศสำนักงานตำรวจแห่งชาติติดตั้งสัญญาณไฟฉุกเฉินวับวาบ  ฝาเลนส์ข้างซ้ายสี ? ฝาเลนส์ข้างข้างขวาสี?

4.รถพยาบาลในระดับ BASIC LIFE SUPPORT หรือ ADVANCE LIFE SUPPORT ติดตั้งวิทยุคมนาคมแบบใด? และกำลังส่งไม่ต่ำกว่ากี่วัตต์?

5.STRETCHER COT ที่ขายตามท้องตลาดส่วนใหญ่มีคุณลักษณะเฉพาะอย่างไร?(ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)

6.REGULATOR ที่ใช้กับถังออกซิเจนทางการแพทย์  ใช้เพื่อทำอะไร  จงอธิบายให้ละเอียด?

7.วันกำเนิด สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ตรงกับวัน?

8. "โทร 1669" เป็นหมายเลขอะไร?

9.อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ ที่ควรมีในพาหนะการแพทย์ฉุกเฉิน ระดับสูง มีอะไรบ้าง?(ตอบมากกว่า 1 ข้อ)

10.ขั้นตอนการทำ CPR อย่างคร่าวๆ


หัวข้อ: Re: ขออนุญาติเพื่อนสมาชิกเล่นเกมส์
เริ่มหัวข้อโดย: e22mxe ที่ 07 มกราคม 2011, 08:28:33
 ;D ;D ;D ;D ;D


หัวข้อ: Re: ขออนุญาติเพื่อนสมาชิกเล่นเกมส์
เริ่มหัวข้อโดย: E29PZR ที่ 07 มกราคม 2011, 08:32:53
เกมส์อะไรครับท่าน


หัวข้อ: Re: ขออนุญาติเพื่อนสมาชิกเล่นเกมส์
เริ่มหัวข้อโดย: E22JSY ที่ 07 มกราคม 2011, 09:00:20
อันนี้ตอบคำถามชิงรางวัลใช่หรือเป่ลาครับ? ??? :-*


หัวข้อ: Re: ขออนุญาติเพื่อนสมาชิกเล่นเกมส์
เริ่มหัวข้อโดย: 57114 ที่ 07 มกราคม 2011, 09:20:04
1.มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ คู่คุณธรรม นำประชาธิปไตย
2.สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
3.กู้ภัย แดงขวา น้ำเงินซ้าย รถพยาบาล น้ำเงินทั้ง2ข้าง
4.วิทยุคมนาคม ระบบ VHF/FM ขนาดกำลังส่ง 25 วัตต์
5.เป็นสแตนเลสที่ทีความแข็งแรงสามารถเคลื่อนย้ายผู้ป่วยในท่านั่งและนอนราบได้
6.. มาตรควบคุมความดันและบอกปริมาณของออกซิเจนที่มีอยู่ภายในท่อ (Regulator)  พร้อมมาตรวัด (Flow Meter)  ทำหน้าที่ควบคุมอัตราการไหลของออกซิเจนที่ผ่านการลดแรงดันจาก Regulator  ในกรณีที่ใช้ท่อบรรจุออกซิเจน  รวมทั้งกระป๋องใส่น้ำ
7.วันถือกำเนิดของ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ก็คือวันที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติ คือ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2551
8.เป็นหมายเลขแจ้งเหตุฉุกเฉินขอความช่วยเหลือ ที่อยู่ประจำโรงพยาบาลในแต่ละ จ.นั้น
9.เครื่องกระตุ้นหัวใจ น้ำเกลือnss1000cc.อุปกรณ์ทำคลอด
10.๑. การช่วยจัดทางเดินทางหายใจให้โล่ง และอยู่ในท่าที่จะให้การช่วยเหลือ ซึ่งทำได้โดย
 ๑.๑ วางฝ่ามือบนหน้าผากผู้ป่วยและกดลง นิ้วชี้และนิ้วหัวแม่มือพร้อมที่จะเอื้อมมาอุดจมูกเมื่อจะผายปอด มือล่างใช้นิ้วกลางและนั้วชี้เชยคางขึ้น ดังภาพที่ ๑ ซึ่งวิธีนี้จะสามารถใช้ได้ในผู้บาดเจ็บที่มีกระดูกสันหลังส่วนคอหัก

๑.๒ ใช้มือกดหน้าผากเหมือนวิธีแรก ส่วนมืออีกข้างหนึ่งช้อนใต้คอขึ้นวิธีนี้ทำได้ง่าย แต่ไม่ควรทำในผู้ที่ได้รับบาดเจ็บที่กระดูกสันหลังเพราะจะเกิดอันตรายต่อไขสันหลัง

๑.๓ ใช้สันมือทั้งสองข้างวางบนหน้าผากกดลง แล้วใช้นิ้วชี้และนิ้วกลางจับกระโดงคาง (Mandible) ของผู้ป่วยขึ้นไปทางข้างหน้า ซึ่งผู้ทำ CPR นั่งคุกเข่าอยู่ทางศีรษะของผู้ป่วย ซึ่งวิธีนี้ทำได้ยาก แต่ช่วยให้ทางเดินหายใจโล่งดี

ถ้าการหยุดหายใจเกิดจากลิ้นตกไปอุดตันทางเดินหายใจผู้ป่วยจะหายใจได้เอง และในขั้นตอนการเปิดทางเดินหายใจนี้ควรใช้เวลา ๔ - ๑๐ วินาที

๒. การตรวจดูการหายใจ ซึ่งควรใช้เวลาเพียง ๓ - ๕ วินาที ซึ่งทำโดยคุกเข่าลงใกล้ไหล่ผู้ป่วย ผู้ให้การช่วยเหลือเอียงศีรษะดูทางปลายเท้าผู้ป่วย หูอยู่ชิดติดกับปากผู้ป่วยและฟังเสียงลมหายใจผู้ป่วย ตามองดูหน้าอกว่ามีการเคลื่อนไหวหรือไม่หรือใช้แก้มสัมผัสลมหายใจจากผู้ป่วย

การหายใจเข้า เป็นการที่ปอดพองตัวรับอากาศภายนอกเข้าทรวงอกจากนั้นปอดจะบีบตัวเอาลมที่ใช้แล้วออกทำให้เห็นทรวงอกเคลื่อนลงเล็กน้อย ซึ่งการขยายขึ้นลงเป็นจังหวะสม่ำเสมอ และนับการหายใจหนึ่งครั้ง ซึ่งการหายใจน้อย (ตื้น) หรือไม่หายใจ จะต้องช่วยการหายใจในทันที โดยการที่ผู้ทำ CPR สูดหายใจเข้าเต็มที่แล้วเป่าเข้าสู่ผู้ป่วยโดยวิธี




๒.๑ ปากต่อปาก ผู้ทำการช่วยฟื้นคืนชีพควรนั่งข้างใดข้างหนึ่ง ใช้นิ้วชี้และนิ้วหัวแม่มือของข้างที่กดศีรษะ บีบจมูกผู้ป่วยเพื่อไม่ให้อากาศรั่วออกขณะเป่าลมเข้าปาก มือข้างที่ยกคางประคองให้ปากเผยอเล็กน้อย ผู้ทำ CPR สูดหายใจเข้าเต็มที่ประกบปากครอบปากผู้ป่วยพร้อมเป่าลมเข้าเต็มที่ ด้วยความเร็วสม่ำเสมอประมาณ ๘๐๐ มิลลิลิตรต่อ ๑ ครั้ง เพื่อให้ปอดขยาย ขณะทำการช่วยเลหือควรสังเกตว่าทรวงอกขยายออกแสดงถึงอากาศผ่านเข้าไปได้ดีแล้วรีบถอนปาก รอให้ลมออกจากผู้ป่วย ซึ่งใช้เวลาประมาณ ๑-๑๕ วินาที แล้วเป่าซ้ำ (ภาพที่ ๒)

๒.๒ ปากต่อจมูก การเป่าลมเข้าทางจมูกเป็นวิธีที่ดี กระทำได้เช่นเดียวกับการเป่าปาก ซึ่งในกรณีที่เปิดปากไม่ได้หรือมีแผลที่ปาก ให้ใช้มือด้านที่เชยคางยกขึ้นให้ปากปิดแล้วเป่าลมเข้าทางจมูกแทนโดยต้องใช้แรงเป่ามากกว่าปากเพราะมีแรงเสียดทานสูงกว่า

๓. การตรวจชีพจรเพื่อประเมินการไหลเวียนโลหิต โดยคลำที่หลอดเลือดใหญ่ที่ตรวจง่าย คือหลอดเลือดแดงคาโรติด (อยู่ทางด้านข้างของลำคอนำเลือดไปเลี้ยงศีรษะ) โดยวางนิ้วโป้งและนิ้วกลางตรงช่องกระหว่างลูกกระเดือกหรือ Thyroid cartilage และกล้ามเนื้อคือ Sternomastoid สังเกต และนับจังหวะ

การเต้นของหลอดเลือด ถ้ามีชีพจรอยู่ในเกณฑ์ใช้ได้ แต่ไม่หายใจให้ช่วยเฉพาะการหายใจ ถ้าไม่มีชีพจรหรือมีแต่ช้ามาก เบามาก ให้ทำการช่วยการไหลเวียนต่อจากการช่วยหายใจทันทีโดยในการคลำชีพจรไม่ควรใช้เวลาเกินกว่า ๕ วินาที ซึ่งผู้ปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพควรฝึกหัดคลำชีพจนให้ชำนาญ





ตำแหน่งการวางมือ

ผู้ให้การช่วยฟื้นคืนชีพจะต้องใช้สันมือ (Heel of Hand) ข้างหนึ่งวางบนกระดูกหน้าอกโดยให้อยู่เหนือลิ้นปี่ประมาณ ๓ เซนติเมตร หรือสองนิ้วมือซึ่งกระทำโดยใช้นิ้วชี้และนิ้วกลางวางทาบลงบนกระดูกหน้าอก ให้นิ้วกลางอยู่ชิดลิ้นปี่ แล้วใช้สันมืออีกข้างหนึ่งวางทับลงไปโดยไม่ใช้ฝ่ามือแตะหน้าอกและเมื่อวางถูกตำแหน่งแล้วไม่ควรยกขึ้นหรือเคลื่อนที่ ซึ่งพบได้บ่อยในการฝึกปฏิบัติและทำให้การทำ CPR ไม่ได้ผลดี



การนวดหัวใจ

กระทำโดยใช้แรงโน้มของลำตัวผ่านแขนที่เหยียดตรง กดหน้าอกด้วยน้ำหนักที่ทำให้หน้าอกยุบลงประมาณ ๓ - ๕ เซนติเมตร ดังภาพที่ ๓ การกดจะช่วยให้ความดับภายในทรวงอกสูงเลือดไหลผ่านไปเลี้ยงอวัยวะที่สำคัญของร่างกายได้

ขณะนวดหัวใจ ต้องจัดจังหวะกดโดยนับหนึ่ง และสอง และสาม และสี่ จนถึงสิบห้า เมื่อครบสิบห้าครั้งแล้วผู้ทำการให้ CPR ทำการเป่าปากอีก ๒ ครั้ง นับเป็นหนึ่งรอบ ทำสลับกันไปเช่นนี้ ๔ รอบ แล้วทำการประเมินผล ถ้ามีบุคคลที่มีความรู้ CPR มาช่วย จะทำการกดหน้าอก ๕ ครั้ง ต่อการเป่าอากาศเข้าปอด ๑ ครั้ง และเมื่อต้องการเปลี่ยนหน้าที่ให้ทำการนับเพื่อเปลี่ยนดังนี้ เปลี่ยนและ, สองและ, สามและ , หน้าและ ,เป่า แล้วจึงสลับที่กัน

การส่งผู้ป่วยไปโรงพยาบาลเป็นสิ่งที่สำคัญ ควรนำผู้ป่วยส่งโรงพยาบาลให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้และต้องเฝ้าประเมินสังเกตภาวะการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยตลอดเวลา ในกรณีที่ต้องทำ CPR ติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน ควรติดตามผลโดยการหยุดทำ CPR เพื่อจับชีพจรทุก ๒ - ๓ นาที และไม่ว่าโดยเหตุผลใด ๆ ไม่ควรหยุดทำ CPR เกินกว่า ๕ วินาที ยกเว้นถ้าท่านเป็นผู้ทำ CPR เพียงคนเดียวและจำเป็นต้องโทรศัพท์เรียกรถพยาบาลมาช่วย

อันตรายจากการกู้ชีวิต

การวางมือไม่ถูกต้อง ทำให้กระดูกซี่โครงหรือปลายกระดูกหน้าอกหักไปทิ่มอวัยวะภายใน กระตุ้นให้เลือดออกมากจนเสียชีวิตได้
ไม่ปล่อยมือหลังจากกดหน้าอก ทำให้หัวใจขยายตัวไม่ได้ เลือดกลับสู่หัวใจได้น้อย การกดหน้าอกครั้งต่อไปจะมีเลือดออกจากหัวใจน้อยลง ไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
การกดหน้าอกแรงและเร็วเกินไป อาจทำให้หัวใจซ้ำ หรือกระดูกได้
กดหน้าอกลึกเกินกว่า 3 นิ้ว อาจทำให้เกิดหัวใจช้ำได้
เป่าลมเข้าปากมากเกินไป หรือเปิดทางเดินหายใจไม่โล่ง ทำให้ลมเข้ากระเพาะอาหารแทนปอด เกิดท้องอืด เศษอาหารและน้ำล้นออก และเข้าไปในหลอดลมได้




หัวข้อ: Re: ขออนุญาติเพื่อนสมาชิกเล่นเกมส์
เริ่มหัวข้อโดย: aohbama ค้างค่าเช่าพื้นที่โฆษณา 2 เดือน ที่ 07 มกราคม 2011, 12:01:46
1.คำขวัญ วันเด็กแห่งชาติ  ปี 2544 คือ รอบคอบ รู้คิด มีจิตสาธารณะ

2. คำย่อ "สพฉ."  ย่อมาจากอะไร  สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ

3.รถปฎฺบัติการฉุกเฉินสำหรับชุดปฏฺบัติการระดับกลางและระดับสูง รถพยาบาลที่กำหนดไว้ในประกาศสำนักงานตำรวจแห่งชาติติดตั้งสัญญาณไฟฉุกเฉินวับวาบ  ฝาเลนส์ข้างซ้ายสี ? ฝาเลนส์ข้างข้างขวาสี?
รถบริการการแพทย์ฉุกเฉิน สัญญานไฟแดงขวาและน้ำเงินซ้าย    รถพยาบาล น้ำเงิน ทั้ง 2 ฝั่ง   

4.รถพยาบาลในระดับ BASIC LIFE SUPPORT หรือ ADVANCE LIFE SUPPORT ติดตั้งวิทยุคมนาคมแบบใด? และกำลังส่งไม่ต่ำกว่ากี่วัตต์?  วิทยุคมนาคมระบบ VHF/FM ชนิดติดตั้งในรถยนต์ ขนาดกำลังส่ง 25 วัตต์ เป็นเครื่องวิทยุคมนาคมที่ใช้งานได้ดีในย่านความถี่ 150 MHz ถึง 170 MHz   หรือกว้างกว่าสามารถใช้งานได้ทั้งระบบ Simplex และ Semi Duplex3.2.3   ใช้กับไฟฟ้ากระแสตรง 12 Volts จากแบตเตอรี่
มีช่องความถี่ในการใช้งานไม่น้อยกว่า 11 ช่อง   
RF input / Output Impedance = 50 Ohm
ต้องเป็นเครื่องแบบสังเคราะห์ความถี่ ตั้งความถี่ใช้งานโดยโปรแกรมความถี่
เสถียรภาพทางความถี่ (Frequency Stability) ±5 PPM หรือน้อยกว่า 
แผ่นวงจรพิมพ์ (P.C. Board) ต้องทำด้วยวัสดุฉนวนคุณภาพดี แข็งแรงทนทาน ไม่แตกหักง่ายและต้องมีสัญลักษณ์ หรือรูป และตัวเลขกำกับชิ้นส่วนต่างๆ ของวงจรอิเล็กทรอนิกส์เพื่อสะดวกในการตรวจซ่อมบำรุงรักษา (หากไม่มีอยู่ในแผ่นวงจรพิมพ์ ต้องมีแสดงอยู่ในคู่มือการซ่อมบำรุง)
หน้าปัทม์เครื่องวิทยุคมนาคม มี Indicator แสดงขณะทำการส่งวิทยุ
มีวงจร CTCSS (Continuous Tone Control Squelch System) ควบคุมการทำงานของเครื่องวิทยุคมนาคม




5.STRETCHER COT ที่ขายตามท้องตลาดส่วนใหญ่มีคุณลักษณะเฉพาะอย่างไร?(ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
   ผลิตจากวัสดุที่เป็นสแตนเลส 
   มีความทนทานและแข็งแรงสูง
   สามารถเครื่อนย้ายผู้บาดเจ็บได้ทุกท่า
   สามารถปรับระดับเพื่อทำเป็นเก้าอี้ หรือเตียงนอนได้
   
   
6.REGULATOR ที่ใช้กับถังออกซิเจนทางการแพทย์  ใช้เพื่อทำอะไร  จงอธิบายให้ละเอียด?
เป็นอุปกรณ์ที่ติดอยู่กับถังออกซิเจนเพื่อแสดงถึงมาตรควบคุมความดันและบอกปริมาณของออกซิเจนที่มีอยู่ภายในท่อ(Regulator)พร้อมมาตรวัด(Flow Meter)ทำหน้าที่ควบคุมอัตราการไหลของออกซิเจนที่ผ่านการลดแรงดันจากRegulator

7.วันกำเนิด สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ตรงกับวัน?
 
วันที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติ คือ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2551

8. "โทร 1669" เป็นหมายเลขอะไร?
 
สัญญาณแจ้งเหตุ 1669 จะไปติดที่ศูนย์สั่งการที่จังหวัดนั้น เจ้าหน้าที่ศูนย์สั่งการจะสอบถามผู้แจ้งถึงลักษณะเหตุที่เกิด ความรุนแรงและสถานที่เกิดเหตุ เพื่อจะได้มีคำสั่งแจ้งไปยังชุดปฏิบัติการที่มีขีดความสามารถ เพียงพอ และใกล้จุดเกิดเหตุ เช่น รถพยาบาลระดับสูงสุด (Advance life support - ALS) มักจะเป็นรถของโรงพยาบาล รถพยาบาลระดับกลาง (Basic life support - BLS) หรือชุดปฏิบัติการระดับต่ำสุด (First responder - FR) ชุดหลังนี้มักจะเป็นอาสาสมัคร หรือมูลนิธิเพื่อการกุศลต่างๆ ซึ่งผ่านการอบรมแล้ว การช่วยเหลือ ณ จุดเกิดเหตุและกระบวนการนำส่งผู้ป่วยโดยไม่ถูกวิธีอาจเพิ่มความพิการหรือสูญเสียได้
ปัจจุบันนี้ชุดปฏิบัติการกู้ชีพจะไปถึงจุดเกิดเหตุเร็วกว่าในอดีตมาก ผู้ประสบเหตุเพียงโทรศัพท์ไปยังหมายเลข 1669


9.อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ ที่ควรมีในพาหนะการแพทย์ฉุกเฉิน ระดับสูง มีอะไรบ้าง?(ตอบมากกว่า 1 ข้อ)
   1.Long Spinal Board และ Head Immobilizer
    2.air splint / traction splint
     3.anti-shock garment
      4.เครื่องกระตุ้นหัวใจ (Defibrillator)
       5.Suction เครื่องดูดเสมหะ
        6.ท่อช่วยหายใจ (Endotrachal Intubation)
         7.น้ำเกลือ (IV Set)
         
10.ขั้นตอนการทำ CPR อย่างคร่าวๆ


หัวใจและการหายใจหยุดทำงานในผู้ใหญ่ ( CARDIAC / RESPIRATORY ARREST ADULT )
ขั้นตอนการช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้น ( CPR )

สำหรับผู้ป่วยอายุตั้งแต่ 8 ปีขึ้นไป หลักการปฏิบัติเบื้องต้น ณ.จุดเกิดเหตุ
1. ผู้ป่วยรู้สึกตัวหรือไม่ ให้เขย่าตัวหรือเรียกเสียงดังๆถ้าไม่ตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น
2. ให้ติดต่อขอความช่วยเหลือ
3. หายใจได้เองหรือไม่ ถ้าไม่ได้ ให้ช่วยหายใจด้วยวิธีเป่าปาก
3.1 จัดผู้ป่วยให้นอนราบ
3.2 ปลอเสื้อผ้าผู้ป่วยให้คลายออก
3.3 คุกเข่าด้านข้างผู้ป่วย
3.4 เปิดทางเดินหายใจ โดยดันหน้าผากเชยคางขึ้น
3.5 ประเมินว่าผู้ป่วยหายใจหรือไม่ เอียงหน้าให้หูอยู่ใกล้ปากและจมูกของผู้ป่วยและจมูก
ของผู้ป่วยตามองไปที่หน้าอก ดูการเคลื่อนไหวของทรวงอกว่าขยับขึ้นลง
ตามการหายใจหรือไม่ หูฟังเสียงลมหายใจ แก้มสัมผัสลมหายใจออก
3.6 ถ้าผู้ป่วยไม่หายใจ ให้ช่วยหายใจ โดยใช้มือบีบจมูกผู้ป่วยแล้วผู้ช่วยเหลือหายใจเข้าปอดเต็มที่
อ้าปากครอบไปบนปากผู้ป่วยจนสนิท แล้วเป่าลมเข้าปากผู้ป่วยเต็มที่ 2 ครั้ง
3.7 สังเกตุว่าลมปากเป่า เข้าสู่ปอดผู้ป่วยเต็มที่หรือไม่ โดยดูจากการเคลื่อนไหวของทรวงอก ถ้าลม
ที่เป่าไม่เข้าตัวผู้ป่วย ให้เป่าซ้ำอีกครั้งหนึ่ง ถ้ายังไม่มีลมเข้าตัวผู้ป่วยอีก อาจมีสิ่งแปลกปลอมอุด
กั้นทางเดินหายใจ ให้ล้วงเอาเสมหะเศษอาหาร ฟันปลอม ( ถ้ามี ) ออกก่อน แล้วให้ช่วยหายใจต่อ
3.8 ถ้าผู้ป่วยสามารถหายใจได้เอง ให้หยุดช่วยหายใจ และคอยสังเกตุการหายใจต่อไปอีก
4. ตรวจสอบชีพจรที่คอ ( CAROTID ) ถ้ามีชีพจรไม่ต้องกดหน้าอก
5. ถ้าไม่มีชีพจร ให้ทำการกดหน้าอก ( CHEST COMPRESSION )
5.1 วางสันมือตรงกึ่งกลางระหว่างหน้าอกผู้ป่วยเหนือลิ้นปี่ 2 นิ้วมือ
5.2 วางมืออีกข้างทับด้านบน
5.3 กดน้ำหนักลงไปยังสันมือ 2 ข้าง ลึก 1.5 - 2 นิ้ว
5.4 กดหน้าอกกด 30 ครั้ง โดยนับเป็นจังหวะ 1 และ 2 และ 3 และ 4 .... จนถึง 30
5.5 บีบจมูกและดันหน้าผากเชยคาง ช่วยหายใจด้วยวิธีเป่าปาก 2 ครั้ง สลับการกดหน้าอก
6. ทำซ้ำในขั้นตอนที่ 5 ( 4 รอบ )
7. ประเมินการหายใจและชีพจร ถ้าผู้ป่วยยังไม่หายใจและชีพจรยังไม่เต้นให้ช่วยจนกว่าผู้ป่วย
จะหายใจได้เอง หรือหน่วยกู้ชีพเดินทางไปถึง
* คำแนะนำที่ให้ปฏิบัติก่อนเจ้าหน้าที่ไปถึง *
1. ถ้าผู้ป่วยอาเจียน
- ตะแคงหน้าผู้ป่วยไปด้านข้าง
- ล้วงเอาเสมหะ หรือเศษอาหาร ออกจากปากผู้ป่วย ก่อนทำการช่วยหายใจ
2. ในกรณี CPR หญิงตั้งครรภ์ ให้จัดท่านอนตะแคงซ้ายของผู้ป่วย โดยใผ้าหนุนรองหลังไว้
ผู้ช่วยเหลือนั่งหันหน้าเข้าหาผู้ป่วย กดหน้าอกให้แรงกดตั้งฉากกำลำตัวผู้ป่วย


เด็ก

การช่วยฟื้นคืนชีพในเด็ก
เด็กอายุ 1 - 8 ปี หลักการปฏิบัติเบื้องต้น ณ.จุดเกิดเหตุ
1. ตรวจดูว่าหมดสติจริงหรือไม่ ( ไม่ร้อง ไม่เคลื่อนไหว )
2. จัดให้นอนหงายบนพื้นราบ
3.เปิดทางเดินหายใจ และตรวจดูการหายใจถ้าไม่หายใจเป่าปากช่วยหายใจ 1 ครั้ง
4. ตรวจชีพจรที่คอ ถ้าคลำไม่ได้ให้กดหน้าอก อัตรส่วนในการกดหน้าอกต่อก่เป่าปากเป็น 5 : 1
5. ตรวจชีพจร และการหายใจ ถ้ายังไม่มี ... ให้ทำารช่วยฟื้นคืนชีพต่อไป ควรกดหน้าอกให้ได้ 80 - 100 ครั้ง / นาที
จนกว่าหน่วยกู้ชีพไปถึง

การช่วยฟื้นคืนชีพในเด็ก
เด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี หลักการปฏิบัติเบื้องต้น ณ.จุดเกิดเหตุ
1. ตรวจดูว่าหมดสติจริงหรือไม่ ( ไม่ร้อง ไม่เคลื่อนไหว )
2. จัดให้นอนหงายบนพื้นราบ
3. เปิดทางเดินหายใจ และตรวจดูการหายใจ ถ้าไม่หายใจช่วยหายใจในเด็กเล็กให้ผู้ช่วยประกบปากครอบปากและจมูก
ของเด็ก แล้วเป่าลมผ่านเข้าทั้งปาก และจมูกของเด็ก
4. ตรวจชีพจรให้คลำหลอดเลือดแดง ที่โคนแขนด้านในตรงรอยพับหรือข้อศอกถ้าคลำไม่ได้ ใช้นิ้วมือ 2 นิ้ว
วางที่บริเวณครึ่งล่างของกระดูกหน้าอก โดยวางนิ้วถัดจากระดับราวนมลงมาเล็กน้อย กดหน้าอกลึกประมาณ 1/2 - 1นิ้ว
อัตราส่วนในการกดหน้าอกต่อการเป่าปากเป็น
5. ตรวจชีพจร และการหายใจ ถ้ายังไมีมี .... ให้ทำงานช่วยฟื้นคืนชีพต่อไปจนกว่าหน่วยกู้ชีพไปถึง


หัวข้อ: Re: ขออนุญาติเพื่อนสมาชิกเล่นเกมส์
เริ่มหัวข้อโดย: e22mxe ที่ 07 มกราคม 2011, 12:32:37
คำถามไม่ยากและไม่ง่ายเกินไปครับ  ขอบคุณเพื่อนๆที่เข้ามาร่วมสนุกครับ  แต่กระผมยังไม่เฉลย  จนกว่าครบกำหนด และจะเรียบเรียง  ผู้ที่ตอบคำถามถูกและตรงใจที่สุด  ครับ 


หัวข้อ: Re: ขออนุญาติเพื่อนสมาชิกเล่นเกมส์
เริ่มหัวข้อโดย: e22mxe ที่ 09 มกราคม 2011, 09:03:42
สงสัยคำถามยากไปเพื่อนๆเลยไม่ค่อยมีท่านใดเล่นเกมส์  5555555  ;D ;D ;D ;D


หัวข้อ: Re: ขออนุญาติเพื่อนสมาชิกเล่นเกมส์
เริ่มหัวข้อโดย: ray accord ที่ 09 มกราคม 2011, 09:23:53
ทำดีได้ดี ช่วยน้องดัน


หัวข้อ: Re: ขออนุญาติเพื่อนสมาชิกเล่นเกมส์
เริ่มหัวข้อโดย: e22mxe ที่ 09 มกราคม 2011, 09:42:02
ทำดีได้ดี ช่วยน้องดัน


ขอบคุณมากครับ  ไม่ร่วมสนุกด้วยหรือครับพี่.............ตอบถูก/ผิด  ไม่เป็นไร  ผู้ที่ร่วมสนุกผมจะให้รถ 1 คัน  เดี๋ยวถ่ายรูปมาให้ชม  มีจำนวนจำกัดแค่ 5 คันเท่านั้นครับ


หัวข้อ: Re: ขออนุญาติเพื่อนสมาชิกเล่นเกมส์
เริ่มหัวข้อโดย: ray accord ที่ 09 มกราคม 2011, 09:56:55
อยากได้รถจังมีแบบนี้ไหมรถมือถือใครสนใจดูในกระทู้ได้นะ
(http://img709.imageshack.us/img709/3816/dscf1858q.jpg)


หรือว่าจะแจกCivicคันที่ขับให้พี่


หัวข้อ: Re: ขออนุญาติเพื่อนสมาชิกเล่นเกมส์
เริ่มหัวข้อโดย: 57114 ที่ 09 มกราคม 2011, 10:19:16
มาลุ้นคับ ;D


หัวข้อ: Re: ขออนุญาติเพื่อนสมาชิกเล่นเกมส์
เริ่มหัวข้อโดย: jokekageee ที่ 09 มกราคม 2011, 12:48:16
ช่วยดันด้วยอีกแรงครับ จะตอบก็ต้องตอบเหมื่อนเพื่อนสมาชิกเขาครับ เลยยกผลประโยชน์ให้ท่านที่ต้องการจริงๆครับ ขอขอบคุณท่านเจ้าของกระทู้ครับ ที่มีจิตมีจิตสาธารณะ   ;D ;D ;D ;D ;D


หัวข้อ: Re: ขออนุญาติเพื่อนสมาชิกเล่นเกมส์
เริ่มหัวข้อโดย: tumzzx ที่ 09 มกราคม 2011, 22:52:39
คำถาม 10 ข้อ คำตอบ มีดังนี้

1.คำขวัญ วันเด็กแห่งชาติ  ปี 2544 คือ?
-  มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ คู่คุณธรรม นำประชาธิปไตย

2. คำย่อ "สพฉ."  ย่อมาจากอะไร?
-  สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ

3.รถปฏิบัติการฉุกเฉินสำหรับชุดปฏิบัติการระดับกลางและระดับสูง รถพยาบาลที่กำหนดไว้ในประกาศสำนักงานตำรวจแห่งชาติติดตั้งสัญญาณไฟฉุกเฉินวับวาบ  ฝาเลนส์ข้างซ้ายสี ? ฝาเลนส์ข้างข้างขวาสี?
-  รถที่เข้าระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ไฟแดงขวา + น้ำเงินซ้าย  / รถพยาบาลขั้นแอ็ดว๊านใช้ไฟสีน้ำเงินทั้งหมด

4.รถพยาบาลในระดับ BASIC LIFE SUPPORT หรือ ADVANCE LIFE SUPPORT ติดตั้งวิทยุคมนาคมแบบใด? และกำลังส่งไม่ต่ำกว่ากี่วัตต์?
-  วิทยุคมนาคม ระบบ VHF/FM ขนาดกำลังส่ง 25 วัตต์

5.STRETCHER COT ที่ขายตามท้องตลาดส่วนใหญ่มีคุณลักษณะเฉพาะอย่างไร?(ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
-  ตัวเตียงทำจากอลูมิเนียม ปลอดสนิม
-  มีพนักพิงสามารถปรับระดับยกแผ่นหลังผู้ป่วยขึ้น-ลงได้ไม่น้อยกว่า 0-65 องศา
-  มีเบาะรองตลอดเตียง พร้อมสายรัดไม่น้อยกว่า 2 จุด
-  มีน้ำหนักเตียงไม่เกิน 37 กิโลกรัม สามารถรองรับน้ำหนักผู้ป่วยได้ไม่น้อยกว่า 170 กิโลกรัม

6.REGULATOR ที่ใช้กับถังออกซิเจนทางการแพทย์  ใช้เพื่อทำอะไร  จงอธิบายให้ละเอียด?
-  เป็นอุปกรณ์ที่ติดอยู่กับถังออกซิเจนเพื่อแสดงถึงมาตรควบคุมความดันและบอกปริมาณของออกซิเจนที่มีอยู่ภายในท่อ(Regulator)พร้อมมาตรวัด(Flow Meter)ทำหน้าที่ควบคุมอัตราการไหลของออกซิเจนที่ผ่านการลดแรงดันจากRegulator

7.วันกำเนิด สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ตรงกับวัน?
วันที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติ คือ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2551

8. "โทร 1669" เป็นหมายเลขอะไร?
-  เลขหมายโทรศัพท์ในการรับแจ้งเหตุผู้ป่วยฉุกเฉินหมายเลขเดียวกันทั่วประเทศ
เพื่อให้ง่ายต่อการจดจำ โดยเมื่อผู้ป่วยหรือผู้ใกล้ชิดโทร.เรียก 1669 ระบบจะเชื่อมโยงสัญญาณ
ไปยังหน่วยแพทย์ฉุกเฉินที่ใกล้จุดที่โทรแจ้งมากที่สุด จากนั้นหน่วยกู้ชีพในพื้นที่รับผิดชอบ
ก็จะส่งเจ้าหน้าที่เข้าไปนำตัวผู้ป่วยส่งโรงพยาบาลโดยเร็ว โดยระหว่างทางเจ้าหน้าที่
จะทำการช่วยเหลือในเบื้องต้นตามความจำเป็น เช่น ห้ามเลือด ให้น้ำเกลือ เป็นต้น

9.อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ ที่ควรมีในพาหนะการแพทย์ฉุกเฉิน ระดับสูง มีอะไรบ้าง?(ตอบมากกว่า 1 ข้อ)
-  แผ่นกระดานรองหลังชนิดยาว (Long Spinal Board)
-  ชุดน้ำเกลือ (IV Set)
-  เครื่องดูดของเหลว/เสมหะ (Mobile suction)
-  กระเป๋าช่วยชีวิตฉุกเฉิน (Rescue bag)
-  เครื่องกระตุ้นหัวใจ (Defibrillator)
-  ท่อช่วยหายใจ (Endotrachal Intubation)
-  ตู้เย็นเก็บเวชภัณฑ์หรือเลือด 
-  เตียงนอนสำหรับผู้ป่วย (Automatic loading Stretcher) 
-  เก้าอี้เข็นเคลื่อนย้ายผู้ป่วย (Foldable chair)

10.ขั้นตอนการทำ CPR อย่างคร่าวๆ
ขั้นตอนการช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้น ( CPR )  มีดังนี้
1. ผู้ป่วยรู้สึกตัวหรือไม่ ให้เขย่าตัวหรือเรียกเสียงดังๆถ้าไม่ตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น
2. ให้ติดต่อขอความช่วยเหลือ
3. หายใจได้เองหรือไม่ ถ้าไม่ได้ ให้ช่วยหายใจด้วยวิธีเป่าปาก
3.1 จัดผู้ป่วยให้นอนราบ
3.2 ปลอเสื้อผ้าผู้ป่วยให้คลายออก
3.3 คุกเข่าด้านข้างผู้ป่วย
3.4 เปิดทางเดินหายใจ โดยดันหน้าผากเชยคางขึ้น
3.5 ประเมินว่าผู้ป่วยหายใจหรือไม่ เอียงหน้าให้หูอยู่ใกล้ปากและจมูกของผู้ป่วยและจมูก
ของผู้ป่วยตามองไปที่หน้าอก ดูการเคลื่อนไหวของทรวงอกว่าขยับขึ้นลง
ตามการหายใจหรือไม่ หูฟังเสียงลมหายใจ แก้มสัมผัสลมหายใจออก
3.6 ถ้าผู้ป่วยไม่หายใจ ให้ช่วยหายใจ โดยใช้มือบีบจมูกผู้ป่วยแล้วผู้ช่วยเหลือหายใจเข้าปอดเต็มที่
อ้าปากครอบไปบนปากผู้ป่วยจนสนิท แล้วเป่าลมเข้าปากผู้ป่วยเต็มที่ 2 ครั้ง
3.7 สังเกตุว่าลมปากเป่า เข้าสู่ปอดผู้ป่วยเต็มที่หรือไม่ โดยดูจากการเคลื่อนไหวของทรวงอก ถ้าลม
ที่เป่าไม่เข้าตัวผู้ป่วย ให้เป่าซ้ำอีกครั้งหนึ่ง ถ้ายังไม่มีลมเข้าตัวผู้ป่วยอีก อาจมีสิ่งแปลกปลอมอุด
กั้นทางเดินหายใจ ให้ล้วงเอาเสมหะเศษอาหาร ฟันปลอม ( ถ้ามี ) ออกก่อน แล้วให้ช่วยหายใจต่อ
3.8 ถ้าผู้ป่วยสามารถหายใจได้เอง ให้หยุดช่วยหายใจ และคอยสังเกตุการหายใจต่อไปอีก
4. ตรวจสอบชีพจรที่คอ ( CAROTID ) ถ้ามีชีพจรไม่ต้องกดหน้าอก
5. ถ้าไม่มีชีพจร ให้ทำการกดหน้าอก ( CHEST COMPRESSION )
5.1 วางสันมือตรงกึ่งกลางระหว่างหน้าอกผู้ป่วยเหนือลิ้นปี่ 2 นิ้วมือ
5.2 วางมืออีกข้างทับด้านบน
5.3 กดน้ำหนักลงไปยังสันมือ 2 ข้าง ลึก 1.5 - 2 นิ้ว
5.4 กดหน้าอกกด 30 ครั้ง โดยนับเป็นจังหวะ 1 และ 2 และ 3 และ 4 .... จนถึง 30
5.5 บีบจมูกและดันหน้าผากเชยคาง ช่วยหายใจด้วยวิธีเป่าปาก 2 ครั้ง สลับการกดหน้าอก
6. ทำซ้ำในขั้นตอนที่ 5 ( 4 รอบ )
7. ประเมินการหายใจและชีพจร ถ้าผู้ป่วยยังไม่หายใจและชีพจรยังไม่เต้นให้ช่วยจนกว่าผู้ป่วย
จะหายใจได้เอง หรือหน่วยกู้ชีพเดินทางไปถึง[/color]

2. คำย่อ "สพฉ."  ย่อมาจากอะไร?
-  สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ

3.รถปฏิบัติการฉุกเฉินสำหรับชุดปฏิบัติการระดับกลางและระดับสูง รถพยาบาลที่กำหนดไว้ในประกาศสำนักงานตำรวจแห่งชาติติดตั้งสัญญาณไฟฉุกเฉินวับวาบ  ฝาเลนส์ข้างซ้ายสี ? ฝาเลนส์ข้างข้างขวาสี?
-  รถที่เข้าระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ไฟแดงขวา + น้ำเงินซ้าย  / รถพยาบาลขั้นแอ็ดว๊านใช้ไฟสีน้ำเงินทั้งหมด

4.รถพยาบาลในระดับ BASIC LIFE SUPPORT หรือ ADVANCE LIFE SUPPORT ติดตั้งวิทยุคมนาคมแบบใด? และกำลังส่งไม่ต่ำกว่ากี่วัตต์?
-  วิทยุคมนาคม ระบบ VHF/FM ขนาดกำลังส่ง 25 วัตต์

5.STRETCHER COT ที่ขายตามท้องตลาดส่วนใหญ่มีคุณลักษณะเฉพาะอย่างไร?(ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
-  ตัวเตียงทำจากอลูมิเนียม ปลอดสนิม
-  มีพนักพิงสามารถปรับระดับยกแผ่นหลังผู้ป่วยขึ้น-ลงได้ไม่น้อยกว่า 0-65 องศา
-  มีเบาะรองตลอดเตียง พร้อมสายรัดไม่น้อยกว่า 2 จุด
-  มีน้ำหนักเตียงไม่เกิน 37 กิโลกรัม สามารถรองรับน้ำหนักผู้ป่วยได้ไม่น้อยกว่า 170 กิโลกรัม

6.REGULATOR ที่ใช้กับถังออกซิเจนทางการแพทย์  ใช้เพื่อทำอะไร  จงอธิบายให้ละเอียด?
-  เป็นอุปกรณ์ที่ติดอยู่กับถังออกซิเจนเพื่อแสดงถึงมาตรควบคุมความดันและบอกปริมาณของออกซิเจนที่มีอยู่ภายในท่อ(Regulator)พร้อมมาตรวัด(Flow Meter)ทำหน้าที่ควบคุมอัตราการไหลของออกซิเจนที่ผ่านการลดแรงดันจากRegulator

7.วันกำเนิด สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ตรงกับวัน?
วันที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติ คือ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2551

8. "โทร 1669" เป็นหมายเลขอะไร?
-  เลขหมายโทรศัพท์ในการรับแจ้งเหตุผู้ป่วยฉุกเฉินหมายเลขเดียวกันทั่วประเทศ
เพื่อให้ง่ายต่อการจดจำ โดยเมื่อผู้ป่วยหรือผู้ใกล้ชิดโทร.เรียก 1669 ระบบจะเชื่อมโยงสัญญาณ
ไปยังหน่วยแพทย์ฉุกเฉินที่ใกล้จุดที่โทรแจ้งมากที่สุด จากนั้นหน่วยกู้ชีพในพื้นที่รับผิดชอบ
ก็จะส่งเจ้าหน้าที่เข้าไปนำตัวผู้ป่วยส่งโรงพยาบาลโดยเร็ว โดยระหว่างทางเจ้าหน้าที่
จะทำการช่วยเหลือในเบื้องต้นตามความจำเป็น เช่น ห้ามเลือด ให้น้ำเกลือ เป็นต้น

9.อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ ที่ควรมีในพาหนะการแพทย์ฉุกเฉิน ระดับสูง มีอะไรบ้าง?(ตอบมากกว่า 1 ข้อ)
-  แผ่นกระดานรองหลังชนิดยาว (Long Spinal Board)
-  ชุดน้ำเกลือ (IV Set)
-  เครื่องดูดของเหลว/เสมหะ (Mobile suction)
-  กระเป๋าช่วยชีวิตฉุกเฉิน (Rescue bag)
-  เครื่องกระตุ้นหัวใจ (Defibrillator)
-  ท่อช่วยหายใจ (Endotrachal Intubation)
-  ตู้เย็นเก็บเวชภัณฑ์หรือเลือด 
-  เตียงนอนสำหรับผู้ป่วย (Automatic loading Stretcher) 
-  เก้าอี้เข็นเคลื่อนย้ายผู้ป่วย (Foldable chair)

10.ขั้นตอนการทำ CPR อย่างคร่าวๆ
ขั้นตอนการช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้น ( CPR )  มีดังนี้
1. ผู้ป่วยรู้สึกตัวหรือไม่ ให้เขย่าตัวหรือเรียกเสียงดังๆถ้าไม่ตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น
2. ให้ติดต่อขอความช่วยเหลือ
3. หายใจได้เองหรือไม่ ถ้าไม่ได้ ให้ช่วยหายใจด้วยวิธีเป่าปาก
3.1 จัดผู้ป่วยให้นอนราบ
3.2 ปลอเสื้อผ้าผู้ป่วยให้คลายออก
3.3 คุกเข่าด้านข้างผู้ป่วย
3.4 เปิดทางเดินหายใจ โดยดันหน้าผากเชยคางขึ้น
3.5 ประเมินว่าผู้ป่วยหายใจหรือไม่ เอียงหน้าให้หูอยู่ใกล้ปากและจมูกของผู้ป่วยและจมูก
ของผู้ป่วยตามองไปที่หน้าอก ดูการเคลื่อนไหวของทรวงอกว่าขยับขึ้นลง
ตามการหายใจหรือไม่ หูฟังเสียงลมหายใจ แก้มสัมผัสลมหายใจออก
3.6 ถ้าผู้ป่วยไม่หายใจ ให้ช่วยหายใจ โดยใช้มือบีบจมูกผู้ป่วยแล้วผู้ช่วยเหลือหายใจเข้าปอดเต็มที่
อ้าปากครอบไปบนปากผู้ป่วยจนสนิท แล้วเป่าลมเข้าปากผู้ป่วยเต็มที่ 2 ครั้ง
3.7 สังเกตุว่าลมปากเป่า เข้าสู่ปอดผู้ป่วยเต็มที่หรือไม่ โดยดูจากการเคลื่อนไหวของทรวงอก ถ้าลม
ที่เป่าไม่เข้าตัวผู้ป่วย ให้เป่าซ้ำอีกครั้งหนึ่ง ถ้ายังไม่มีลมเข้าตัวผู้ป่วยอีก อาจมีสิ่งแปลกปลอมอุด
กั้นทางเดินหายใจ ให้ล้วงเอาเสมหะเศษอาหาร ฟันปลอม ( ถ้ามี ) ออกก่อน แล้วให้ช่วยหายใจต่อ
3.8 ถ้าผู้ป่วยสามารถหายใจได้เอง ให้หยุดช่วยหายใจ และคอยสังเกตุการหายใจต่อไปอีก
4. ตรวจสอบชีพจรที่คอ ( CAROTID ) ถ้ามีชีพจรไม่ต้องกดหน้าอก
5. ถ้าไม่มีชีพจร ให้ทำการกดหน้าอก ( CHEST COMPRESSION )
5.1 วางสันมือตรงกึ่งกลางระหว่างหน้าอกผู้ป่วยเหนือลิ้นปี่ 2 นิ้วมือ
5.2 วางมืออีกข้างทับด้านบน
5.3 กดน้ำหนักลงไปยังสันมือ 2 ข้าง ลึก 1.5 - 2 นิ้ว
5.4 กดหน้าอกกด 30 ครั้ง โดยนับเป็นจังหวะ 1 และ 2 และ 3 และ 4 .... จนถึง 30
5.5 บีบจมูกและดันหน้าผากเชยคาง ช่วยหายใจด้วยวิธีเป่าปาก 2 ครั้ง สลับการกดหน้าอก
6. ทำซ้ำในขั้นตอนที่ 5 ( 4 รอบ )
7. ประเมินการหายใจและชีพจร ถ้าผู้ป่วยยังไม่หายใจและชีพจรยังไม่เต้นให้ช่วยจนกว่าผู้ป่วย
จะหายใจได้เอง หรือหน่วยกู้ชีพเดินทางไปถึง


หัวข้อ: Re: ขออนุญาติเพื่อนสมาชิกเล่นเกมส์
เริ่มหัวข้อโดย: e22mxe ที่ 10 มกราคม 2011, 00:54:32
1.มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ คู่คุณธรรม นำประชาธิปไตย  ok
2.สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ  ok
3.กู้ภัย แดงขวา น้ำเงินซ้าย รถพยาบาล น้ำเงินทั้ง2ข้าง  ok
4.วิทยุคมนาคม ระบบ VHF/FM ขนาดกำลังส่ง 25 วัตต์  o
5.เป็นสแตนเลสที่ทีความแข็งแรงสามารถเคลื่อนย้ายผู้ป่วยในท่านั่งและนอนราบได้  o
6.. มาตรควบคุมความดันและบอกปริมาณของออกซิเจนที่มีอยู่ภายในท่อ (Regulator)  พร้อมมาตรวัด (Flow Meter)  ทำหน้าที่ควบคุมอัตราการไหลของออกซิเจนที่ผ่านการลดแรงดันจาก Regulator  ในกรณีที่ใช้ท่อบรรจุออกซิเจน  รวมทั้งกระป๋องใส่น้ำ  o
7.วันถือกำเนิดของ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ก็คือวันที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติ คือ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2551 o
8.เป็นหมายเลขแจ้งเหตุฉุกเฉินขอความช่วยเหลือ ที่อยู่ประจำโรงพยาบาลในแต่ละ จ.นั้น  o
9.เครื่องกระตุ้นหัวใจ น้ำเกลือnss1000cc.อุปกรณ์ทำคลอด o
10.๑. การช่วยจัดทางเดินทางหายใจให้โล่ง และอยู่ในท่าที่จะให้การช่วยเหลือ ซึ่งทำได้โดย   ok
 ๑.๑ วางฝ่ามือบนหน้าผากผู้ป่วยและกดลง นิ้วชี้และนิ้วหัวแม่มือพร้อมที่จะเอื้อมมาอุดจมูกเมื่อจะผายปอด มือล่างใช้นิ้วกลางและนั้วชี้เชยคางขึ้น ดังภาพที่ ๑ ซึ่งวิธีนี้จะสามารถใช้ได้ในผู้บาดเจ็บที่มีกระดูกสันหลังส่วนคอหัก

๑.๒ ใช้มือกดหน้าผากเหมือนวิธีแรก ส่วนมืออีกข้างหนึ่งช้อนใต้คอขึ้นวิธีนี้ทำได้ง่าย แต่ไม่ควรทำในผู้ที่ได้รับบาดเจ็บที่กระดูกสันหลังเพราะจะเกิดอันตรายต่อไขสันหลัง

๑.๓ ใช้สันมือทั้งสองข้างวางบนหน้าผากกดลง แล้วใช้นิ้วชี้และนิ้วกลางจับกระโดงคาง (Mandible) ของผู้ป่วยขึ้นไปทางข้างหน้า ซึ่งผู้ทำ CPR นั่งคุกเข่าอยู่ทางศีรษะของผู้ป่วย ซึ่งวิธีนี้ทำได้ยาก แต่ช่วยให้ทางเดินหายใจโล่งดี

ถ้าการหยุดหายใจเกิดจากลิ้นตกไปอุดตันทางเดินหายใจผู้ป่วยจะหายใจได้เอง และในขั้นตอนการเปิดทางเดินหายใจนี้ควรใช้เวลา ๔ - ๑๐ วินาที

๒. การตรวจดูการหายใจ ซึ่งควรใช้เวลาเพียง ๓ - ๕ วินาที ซึ่งทำโดยคุกเข่าลงใกล้ไหล่ผู้ป่วย ผู้ให้การช่วยเหลือเอียงศีรษะดูทางปลายเท้าผู้ป่วย หูอยู่ชิดติดกับปากผู้ป่วยและฟังเสียงลมหายใจผู้ป่วย ตามองดูหน้าอกว่ามีการเคลื่อนไหวหรือไม่หรือใช้แก้มสัมผัสลมหายใจจากผู้ป่วย

การหายใจเข้า เป็นการที่ปอดพองตัวรับอากาศภายนอกเข้าทรวงอกจากนั้นปอดจะบีบตัวเอาลมที่ใช้แล้วออกทำให้เห็นทรวงอกเคลื่อนลงเล็กน้อย ซึ่งการขยายขึ้นลงเป็นจังหวะสม่ำเสมอ และนับการหายใจหนึ่งครั้ง ซึ่งการหายใจน้อย (ตื้น) หรือไม่หายใจ จะต้องช่วยการหายใจในทันที โดยการที่ผู้ทำ CPR สูดหายใจเข้าเต็มที่แล้วเป่าเข้าสู่ผู้ป่วยโดยวิธี




๒.๑ ปากต่อปาก ผู้ทำการช่วยฟื้นคืนชีพควรนั่งข้างใดข้างหนึ่ง ใช้นิ้วชี้และนิ้วหัวแม่มือของข้างที่กดศีรษะ บีบจมูกผู้ป่วยเพื่อไม่ให้อากาศรั่วออกขณะเป่าลมเข้าปาก มือข้างที่ยกคางประคองให้ปากเผยอเล็กน้อย ผู้ทำ CPR สูดหายใจเข้าเต็มที่ประกบปากครอบปากผู้ป่วยพร้อมเป่าลมเข้าเต็มที่ ด้วยความเร็วสม่ำเสมอประมาณ ๘๐๐ มิลลิลิตรต่อ ๑ ครั้ง เพื่อให้ปอดขยาย ขณะทำการช่วยเลหือควรสังเกตว่าทรวงอกขยายออกแสดงถึงอากาศผ่านเข้าไปได้ดีแล้วรีบถอนปาก รอให้ลมออกจากผู้ป่วย ซึ่งใช้เวลาประมาณ ๑-๑๕ วินาที แล้วเป่าซ้ำ (ภาพที่ ๒)

๒.๒ ปากต่อจมูก การเป่าลมเข้าทางจมูกเป็นวิธีที่ดี กระทำได้เช่นเดียวกับการเป่าปาก ซึ่งในกรณีที่เปิดปากไม่ได้หรือมีแผลที่ปาก ให้ใช้มือด้านที่เชยคางยกขึ้นให้ปากปิดแล้วเป่าลมเข้าทางจมูกแทนโดยต้องใช้แรงเป่ามากกว่าปากเพราะมีแรงเสียดทานสูงกว่า

๓. การตรวจชีพจรเพื่อประเมินการไหลเวียนโลหิต โดยคลำที่หลอดเลือดใหญ่ที่ตรวจง่าย คือหลอดเลือดแดงคาโรติด (อยู่ทางด้านข้างของลำคอนำเลือดไปเลี้ยงศีรษะ) โดยวางนิ้วโป้งและนิ้วกลางตรงช่องกระหว่างลูกกระเดือกหรือ Thyroid cartilage และกล้ามเนื้อคือ Sternomastoid สังเกต และนับจังหวะ

การเต้นของหลอดเลือด ถ้ามีชีพจรอยู่ในเกณฑ์ใช้ได้ แต่ไม่หายใจให้ช่วยเฉพาะการหายใจ ถ้าไม่มีชีพจรหรือมีแต่ช้ามาก เบามาก ให้ทำการช่วยการไหลเวียนต่อจากการช่วยหายใจทันทีโดยในการคลำชีพจรไม่ควรใช้เวลาเกินกว่า ๕ วินาที ซึ่งผู้ปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพควรฝึกหัดคลำชีพจนให้ชำนาญ





ตำแหน่งการวางมือ

ผู้ให้การช่วยฟื้นคืนชีพจะต้องใช้สันมือ (Heel of Hand) ข้างหนึ่งวางบนกระดูกหน้าอกโดยให้อยู่เหนือลิ้นปี่ประมาณ ๓ เซนติเมตร หรือสองนิ้วมือซึ่งกระทำโดยใช้นิ้วชี้และนิ้วกลางวางทาบลงบนกระดูกหน้าอก ให้นิ้วกลางอยู่ชิดลิ้นปี่ แล้วใช้สันมืออีกข้างหนึ่งวางทับลงไปโดยไม่ใช้ฝ่ามือแตะหน้าอกและเมื่อวางถูกตำแหน่งแล้วไม่ควรยกขึ้นหรือเคลื่อนที่ ซึ่งพบได้บ่อยในการฝึกปฏิบัติและทำให้การทำ CPR ไม่ได้ผลดี



การนวดหัวใจ

กระทำโดยใช้แรงโน้มของลำตัวผ่านแขนที่เหยียดตรง กดหน้าอกด้วยน้ำหนักที่ทำให้หน้าอกยุบลงประมาณ ๓ - ๕ เซนติเมตร ดังภาพที่ ๓ การกดจะช่วยให้ความดับภายในทรวงอกสูงเลือดไหลผ่านไปเลี้ยงอวัยวะที่สำคัญของร่างกายได้

ขณะนวดหัวใจ ต้องจัดจังหวะกดโดยนับหนึ่ง และสอง และสาม และสี่ จนถึงสิบห้า เมื่อครบสิบห้าครั้งแล้วผู้ทำการให้ CPR ทำการเป่าปากอีก ๒ ครั้ง นับเป็นหนึ่งรอบ ทำสลับกันไปเช่นนี้ ๔ รอบ แล้วทำการประเมินผล ถ้ามีบุคคลที่มีความรู้ CPR มาช่วย จะทำการกดหน้าอก ๕ ครั้ง ต่อการเป่าอากาศเข้าปอด ๑ ครั้ง และเมื่อต้องการเปลี่ยนหน้าที่ให้ทำการนับเพื่อเปลี่ยนดังนี้ เปลี่ยนและ, สองและ, สามและ , หน้าและ ,เป่า แล้วจึงสลับที่กัน

การส่งผู้ป่วยไปโรงพยาบาลเป็นสิ่งที่สำคัญ ควรนำผู้ป่วยส่งโรงพยาบาลให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้และต้องเฝ้าประเมินสังเกตภาวะการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยตลอดเวลา ในกรณีที่ต้องทำ CPR ติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน ควรติดตามผลโดยการหยุดทำ CPR เพื่อจับชีพจรทุก ๒ - ๓ นาที และไม่ว่าโดยเหตุผลใด ๆ ไม่ควรหยุดทำ CPR เกินกว่า ๕ วินาที ยกเว้นถ้าท่านเป็นผู้ทำ CPR เพียงคนเดียวและจำเป็นต้องโทรศัพท์เรียกรถพยาบาลมาช่วย

อันตรายจากการกู้ชีวิต

การวางมือไม่ถูกต้อง ทำให้กระดูกซี่โครงหรือปลายกระดูกหน้าอกหักไปทิ่มอวัยวะภายใน กระตุ้นให้เลือดออกมากจนเสียชีวิตได้
ไม่ปล่อยมือหลังจากกดหน้าอก ทำให้หัวใจขยายตัวไม่ได้ เลือดกลับสู่หัวใจได้น้อย การกดหน้าอกครั้งต่อไปจะมีเลือดออกจากหัวใจน้อยลง ไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
การกดหน้าอกแรงและเร็วเกินไป อาจทำให้หัวใจซ้ำ หรือกระดูกได้
กดหน้าอกลึกเกินกว่า 3 นิ้ว อาจทำให้เกิดหัวใจช้ำได้
เป่าลมเข้าปากมากเกินไป หรือเปิดทางเดินหายใจไม่โล่ง ทำให้ลมเข้ากระเพาะอาหารแทนปอด เกิดท้องอืด เศษอาหารและน้ำล้นออก และเข้าไปในหลอดลมได้





หัวข้อ: Re: ขออนุญาติเพื่อนสมาชิกเล่นเกมส์
เริ่มหัวข้อโดย: e22mxe ที่ 10 มกราคม 2011, 01:00:58
1.คำขวัญ วันเด็กแห่งชาติ  ปี 2544 คือ รอบคอบ รู้คิด มีจิตสาธารณะ  -

2. คำย่อ "สพฉ."  ย่อมาจากอะไร  สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ  ok

3.รถปฎฺบัติการฉุกเฉินสำหรับชุดปฏฺบัติการระดับกลางและระดับสูง รถพยาบาลที่กำหนดไว้ในประกาศสำนักงานตำรวจแห่งชาติติดตั้งสัญญาณไฟฉุกเฉินวับวาบ  ฝาเลนส์ข้างซ้ายสี ? ฝาเลนส์ข้างข้างขวาสี?
รถบริการการแพทย์ฉุกเฉิน สัญญานไฟแดงขวาและน้ำเงินซ้าย    รถพยาบาล น้ำเงิน ทั้ง 2 ฝั่ง   ok

4.รถพยาบาลในระดับ BASIC LIFE SUPPORT หรือ ADVANCE LIFE SUPPORT ติดตั้งวิทยุคมนาคมแบบใด? และกำลังส่งไม่ต่ำกว่ากี่วัตต์? ok วิทยุคมนาคมระบบ VHF/FM ชนิดติดตั้งในรถยนต์ ขนาดกำลังส่ง 25 วัตต์ เป็นเครื่องวิทยุคมนาคมที่ใช้งานได้ดีในย่านความถี่ 150 MHz ถึง 170 MHz   หรือกว้างกว่าสามารถใช้งานได้ทั้งระบบ Simplex และ Semi Duplex3.2.3   ใช้กับไฟฟ้ากระแสตรง 12 Volts จากแบตเตอรี่
มีช่องความถี่ในการใช้งานไม่น้อยกว่า 11 ช่อง   
RF input / Output Impedance = 50 Ohm
ต้องเป็นเครื่องแบบสังเคราะห์ความถี่ ตั้งความถี่ใช้งานโดยโปรแกรมความถี่
เสถียรภาพทางความถี่ (Frequency Stability) ±5 PPM หรือน้อยกว่า 
แผ่นวงจรพิมพ์ (P.C. Board) ต้องทำด้วยวัสดุฉนวนคุณภาพดี แข็งแรงทนทาน ไม่แตกหักง่ายและต้องมีสัญลักษณ์ หรือรูป และตัวเลขกำกับชิ้นส่วนต่างๆ ของวงจรอิเล็กทรอนิกส์เพื่อสะดวกในการตรวจซ่อมบำรุงรักษา (หากไม่มีอยู่ในแผ่นวงจรพิมพ์ ต้องมีแสดงอยู่ในคู่มือการซ่อมบำรุง)
หน้าปัทม์เครื่องวิทยุคมนาคม มี Indicator แสดงขณะทำการส่งวิทยุ
มีวงจร CTCSS (Continuous Tone Control Squelch System) ควบคุมการทำงานของเครื่องวิทยุคมนาคม




5.STRETCHER COT ที่ขายตามท้องตลาดส่วนใหญ่มีคุณลักษณะเฉพาะอย่างไร?(ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)  o
   ผลิตจากวัสดุที่เป็นสแตนเลส 
   มีความทนทานและแข็งแรงสูง
   สามารถเครื่อนย้ายผู้บาดเจ็บได้ทุกท่า
   สามารถปรับระดับเพื่อทำเป็นเก้าอี้ หรือเตียงนอนได้
   
   
6.REGULATOR ที่ใช้กับถังออกซิเจนทางการแพทย์  ใช้เพื่อทำอะไร  จงอธิบายให้ละเอียด?  ok
เป็นอุปกรณ์ที่ติดอยู่กับถังออกซิเจนเพื่อแสดงถึงมาตรควบคุมความดันและบอกปริมาณของออกซิเจนที่มีอยู่ภายในท่อ(Regulator)พร้อมมาตรวัด(Flow Meter)ทำหน้าที่ควบคุมอัตราการไหลของออกซิเจนที่ผ่านการลดแรงดันจากRegulator

7.วันกำเนิด สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ตรงกับวัน?  o
 
วันที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติ คือ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2551

8. "โทร 1669" เป็นหมายเลขอะไร?  ok
 
สัญญาณแจ้งเหตุ 1669 จะไปติดที่ศูนย์สั่งการที่จังหวัดนั้น เจ้าหน้าที่ศูนย์สั่งการจะสอบถามผู้แจ้งถึงลักษณะเหตุที่เกิด ความรุนแรงและสถานที่เกิดเหตุ เพื่อจะได้มีคำสั่งแจ้งไปยังชุดปฏิบัติการที่มีขีดความสามารถ เพียงพอ และใกล้จุดเกิดเหตุ เช่น รถพยาบาลระดับสูงสุด (Advance life support - ALS) มักจะเป็นรถของโรงพยาบาล รถพยาบาลระดับกลาง (Basic life support - BLS) หรือชุดปฏิบัติการระดับต่ำสุด (First responder - FR) ชุดหลังนี้มักจะเป็นอาสาสมัคร หรือมูลนิธิเพื่อการกุศลต่างๆ ซึ่งผ่านการอบรมแล้ว การช่วยเหลือ ณ จุดเกิดเหตุและกระบวนการนำส่งผู้ป่วยโดยไม่ถูกวิธีอาจเพิ่มความพิการหรือสูญเสียได้
ปัจจุบันนี้ชุดปฏิบัติการกู้ชีพจะไปถึงจุดเกิดเหตุเร็วกว่าในอดีตมาก ผู้ประสบเหตุเพียงโทรศัพท์ไปยังหมายเลข 1669


9.อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ ที่ควรมีในพาหนะการแพทย์ฉุกเฉิน ระดับสูง มีอะไรบ้าง?(ตอบมากกว่า 1 ข้อ)  o
   1.Long Spinal Board และ Head Immobilizer
    2.air splint / traction splint
     3.anti-shock garment
      4.เครื่องกระตุ้นหัวใจ (Defibrillator)
       5.Suction เครื่องดูดเสมหะ
        6.ท่อช่วยหายใจ (Endotrachal Intubation)
         7.น้ำเกลือ (IV Set)
         
10.ขั้นตอนการทำ CPR อย่างคร่าวๆ  o


หัวใจและการหายใจหยุดทำงานในผู้ใหญ่ ( CARDIAC / RESPIRATORY ARREST ADULT )
ขั้นตอนการช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้น ( CPR )

สำหรับผู้ป่วยอายุตั้งแต่ 8 ปีขึ้นไป หลักการปฏิบัติเบื้องต้น ณ.จุดเกิดเหตุ
1. ผู้ป่วยรู้สึกตัวหรือไม่ ให้เขย่าตัวหรือเรียกเสียงดังๆถ้าไม่ตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น
2. ให้ติดต่อขอความช่วยเหลือ
3. หายใจได้เองหรือไม่ ถ้าไม่ได้ ให้ช่วยหายใจด้วยวิธีเป่าปาก
3.1 จัดผู้ป่วยให้นอนราบ
3.2 ปลอเสื้อผ้าผู้ป่วยให้คลายออก
3.3 คุกเข่าด้านข้างผู้ป่วย
3.4 เปิดทางเดินหายใจ โดยดันหน้าผากเชยคางขึ้น
3.5 ประเมินว่าผู้ป่วยหายใจหรือไม่ เอียงหน้าให้หูอยู่ใกล้ปากและจมูกของผู้ป่วยและจมูก
ของผู้ป่วยตามองไปที่หน้าอก ดูการเคลื่อนไหวของทรวงอกว่าขยับขึ้นลง
ตามการหายใจหรือไม่ หูฟังเสียงลมหายใจ แก้มสัมผัสลมหายใจออก
3.6 ถ้าผู้ป่วยไม่หายใจ ให้ช่วยหายใจ โดยใช้มือบีบจมูกผู้ป่วยแล้วผู้ช่วยเหลือหายใจเข้าปอดเต็มที่
อ้าปากครอบไปบนปากผู้ป่วยจนสนิท แล้วเป่าลมเข้าปากผู้ป่วยเต็มที่ 2 ครั้ง
3.7 สังเกตุว่าลมปากเป่า เข้าสู่ปอดผู้ป่วยเต็มที่หรือไม่ โดยดูจากการเคลื่อนไหวของทรวงอก ถ้าลม
ที่เป่าไม่เข้าตัวผู้ป่วย ให้เป่าซ้ำอีกครั้งหนึ่ง ถ้ายังไม่มีลมเข้าตัวผู้ป่วยอีก อาจมีสิ่งแปลกปลอมอุด
กั้นทางเดินหายใจ ให้ล้วงเอาเสมหะเศษอาหาร ฟันปลอม ( ถ้ามี ) ออกก่อน แล้วให้ช่วยหายใจต่อ
3.8 ถ้าผู้ป่วยสามารถหายใจได้เอง ให้หยุดช่วยหายใจ และคอยสังเกตุการหายใจต่อไปอีก
4. ตรวจสอบชีพจรที่คอ ( CAROTID ) ถ้ามีชีพจรไม่ต้องกดหน้าอก
5. ถ้าไม่มีชีพจร ให้ทำการกดหน้าอก ( CHEST COMPRESSION )
5.1 วางสันมือตรงกึ่งกลางระหว่างหน้าอกผู้ป่วยเหนือลิ้นปี่ 2 นิ้วมือ
5.2 วางมืออีกข้างทับด้านบน
5.3 กดน้ำหนักลงไปยังสันมือ 2 ข้าง ลึก 1.5 - 2 นิ้ว
5.4 กดหน้าอกกด 30 ครั้ง โดยนับเป็นจังหวะ 1 และ 2 และ 3 และ 4 .... จนถึง 30
5.5 บีบจมูกและดันหน้าผากเชยคาง ช่วยหายใจด้วยวิธีเป่าปาก 2 ครั้ง สลับการกดหน้าอก
6. ทำซ้ำในขั้นตอนที่ 5 ( 4 รอบ )
7. ประเมินการหายใจและชีพจร ถ้าผู้ป่วยยังไม่หายใจและชีพจรยังไม่เต้นให้ช่วยจนกว่าผู้ป่วย
จะหายใจได้เอง หรือหน่วยกู้ชีพเดินทางไปถึง
* คำแนะนำที่ให้ปฏิบัติก่อนเจ้าหน้าที่ไปถึง *
1. ถ้าผู้ป่วยอาเจียน
- ตะแคงหน้าผู้ป่วยไปด้านข้าง
- ล้วงเอาเสมหะ หรือเศษอาหาร ออกจากปากผู้ป่วย ก่อนทำการช่วยหายใจ
2. ในกรณี CPR หญิงตั้งครรภ์ ให้จัดท่านอนตะแคงซ้ายของผู้ป่วย โดยใผ้าหนุนรองหลังไว้
ผู้ช่วยเหลือนั่งหันหน้าเข้าหาผู้ป่วย กดหน้าอกให้แรงกดตั้งฉากกำลำตัวผู้ป่วย


เด็ก

การช่วยฟื้นคืนชีพในเด็ก
เด็กอายุ 1 - 8 ปี หลักการปฏิบัติเบื้องต้น ณ.จุดเกิดเหตุ
1. ตรวจดูว่าหมดสติจริงหรือไม่ ( ไม่ร้อง ไม่เคลื่อนไหว )
2. จัดให้นอนหงายบนพื้นราบ
3.เปิดทางเดินหายใจ และตรวจดูการหายใจถ้าไม่หายใจเป่าปากช่วยหายใจ 1 ครั้ง
4. ตรวจชีพจรที่คอ ถ้าคลำไม่ได้ให้กดหน้าอก อัตรส่วนในการกดหน้าอกต่อก่เป่าปากเป็น 5 : 1
5. ตรวจชีพจร และการหายใจ ถ้ายังไม่มี ... ให้ทำารช่วยฟื้นคืนชีพต่อไป ควรกดหน้าอกให้ได้ 80 - 100 ครั้ง / นาที
จนกว่าหน่วยกู้ชีพไปถึง

การช่วยฟื้นคืนชีพในเด็ก
เด็กอายุต่ำกว่า 1 ปี หลักการปฏิบัติเบื้องต้น ณ.จุดเกิดเหตุ
1. ตรวจดูว่าหมดสติจริงหรือไม่ ( ไม่ร้อง ไม่เคลื่อนไหว )
2. จัดให้นอนหงายบนพื้นราบ
3. เปิดทางเดินหายใจ และตรวจดูการหายใจ ถ้าไม่หายใจช่วยหายใจในเด็กเล็กให้ผู้ช่วยประกบปากครอบปากและจมูก
ของเด็ก แล้วเป่าลมผ่านเข้าทั้งปาก และจมูกของเด็ก
4. ตรวจชีพจรให้คลำหลอดเลือดแดง ที่โคนแขนด้านในตรงรอยพับหรือข้อศอกถ้าคลำไม่ได้ ใช้นิ้วมือ 2 นิ้ว
วางที่บริเวณครึ่งล่างของกระดูกหน้าอก โดยวางนิ้วถัดจากระดับราวนมลงมาเล็กน้อย กดหน้าอกลึกประมาณ 1/2 - 1นิ้ว
อัตราส่วนในการกดหน้าอกต่อการเป่าปากเป็น
5. ตรวจชีพจร และการหายใจ ถ้ายังไมีมี .... ให้ทำงานช่วยฟื้นคืนชีพต่อไปจนกว่าหน่วยกู้ชีพไปถึง


หัวข้อ: Re: ขออนุญาติเพื่อนสมาชิกเล่นเกมส์
เริ่มหัวข้อโดย: E20MLS ที่ 10 มกราคม 2011, 01:10:17
ดีจังกิจกรรมน่าเล่น น่าสนใจ ได้ความรู้ ดีมากๆครับ เดี๋ยวหาข้อมูลก่อน ว่าจะถามสาวๆที่เคยมาวัดหัวใจที่ออฟฟิตซะหน่อย อิอิอิ เอาลุยๆๆๆๆเพื่อนๆที่ทำงานอาสาหน่วยกู้ชีพ ลุยเลย เวลาเหลือน้อยแล้ว เดี๋ยวจะเข้ามาช่วยอัพให้ งานนี้ต้องดันกันสุดๆ ;D ;D ;D


หัวข้อ: Re: ขออนุญาติเพื่อนสมาชิกเล่นเกมส์
เริ่มหัวข้อโดย: e22mxe ที่ 10 มกราคม 2011, 01:15:41
คำถาม 10 ข้อ คำตอบ มีดังนี้

1.คำขวัญ วันเด็กแห่งชาติ  ปี 2544 คือ?  ok
-  มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ คู่คุณธรรม นำประชาธิปไตย

2. คำย่อ "สพฉ."  ย่อมาจากอะไร?  ok
-  สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ

3.รถปฏิบัติการฉุกเฉินสำหรับชุดปฏิบัติการระดับกลางและระดับสูง รถพยาบาลที่กำหนดไว้ในประกาศสำนักงานตำรวจแห่งชาติติดตั้งสัญญาณไฟฉุกเฉินวับวาบ  ฝาเลนส์ข้างซ้ายสี ? ฝาเลนส์ข้างข้างขวาสี?  o
-  รถที่เข้าระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ไฟแดงขวา + น้ำเงินซ้าย  / รถพยาบาลขั้นแอ็ดว๊านใช้ไฟสีน้ำเงินทั้งหมด

4.รถพยาบาลในระดับ BASIC LIFE SUPPORT หรือ ADVANCE LIFE SUPPORT ติดตั้งวิทยุคมนาคมแบบใด? และกำลังส่งไม่ต่ำกว่ากี่วัตต์?o
-  วิทยุคมนาคม ระบบ VHF/FM ขนาดกำลังส่ง 25 วัตต์

5.STRETCHER COT ที่ขายตามท้องตลาดส่วนใหญ่มีคุณลักษณะเฉพาะอย่างไร?(ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)ok
-  ตัวเตียงทำจากอลูมิเนียม ปลอดสนิม
-  มีพนักพิงสามารถปรับระดับยกแผ่นหลังผู้ป่วยขึ้น-ลงได้ไม่น้อยกว่า 0-65 องศา
-  มีเบาะรองตลอดเตียง พร้อมสายรัดไม่น้อยกว่า 2 จุด
-  มีน้ำหนักเตียงไม่เกิน 37 กิโลกรัม สามารถรองรับน้ำหนักผู้ป่วยได้ไม่น้อยกว่า 170 กิโลกรัม

6.REGULATOR ที่ใช้กับถังออกซิเจนทางการแพทย์  ใช้เพื่อทำอะไร  จงอธิบายให้ละเอียด? ok
-  เป็นอุปกรณ์ที่ติดอยู่กับถังออกซิเจนเพื่อแสดงถึงมาตรควบคุมความดันและบอกปริมาณของออกซิเจนที่มีอยู่ภายในท่อ(Regulator)พร้อมมาตรวัด(Flow Meter)ทำหน้าที่ควบคุมอัตราการไหลของออกซิเจนที่ผ่านการลดแรงดันจากRegulator

7.วันกำเนิด สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ตรงกับวัน?ok
วันที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติ คือ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2551

8. "โทร 1669" เป็นหมายเลขอะไร?ok
-  เลขหมายโทรศัพท์ในการรับแจ้งเหตุผู้ป่วยฉุกเฉินหมายเลขเดียวกันทั่วประเทศ
เพื่อให้ง่ายต่อการจดจำ โดยเมื่อผู้ป่วยหรือผู้ใกล้ชิดโทร.เรียก 1669 ระบบจะเชื่อมโยงสัญญาณ
ไปยังหน่วยแพทย์ฉุกเฉินที่ใกล้จุดที่โทรแจ้งมากที่สุด จากนั้นหน่วยกู้ชีพในพื้นที่รับผิดชอบ
ก็จะส่งเจ้าหน้าที่เข้าไปนำตัวผู้ป่วยส่งโรงพยาบาลโดยเร็ว โดยระหว่างทางเจ้าหน้าที่
จะทำการช่วยเหลือในเบื้องต้นตามความจำเป็น เช่น ห้ามเลือด ให้น้ำเกลือ เป็นต้น

9.อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ ที่ควรมีในพาหนะการแพทย์ฉุกเฉิน ระดับสูง มีอะไรบ้าง?(ตอบมากกว่า 1 ข้อ)o
-  แผ่นกระดานรองหลังชนิดยาว (Long Spinal Board)
-  ชุดน้ำเกลือ (IV Set)
-  เครื่องดูดของเหลว/เสมหะ (Mobile suction)
-  กระเป๋าช่วยชีวิตฉุกเฉิน (Rescue bag)
-  เครื่องกระตุ้นหัวใจ (Defibrillator)
-  ท่อช่วยหายใจ (Endotrachal Intubation)
-  ตู้เย็นเก็บเวชภัณฑ์หรือเลือด 
-  เตียงนอนสำหรับผู้ป่วย (Automatic loading Stretcher) 
-  เก้าอี้เข็นเคลื่อนย้ายผู้ป่วย (Foldable chair)

10.ขั้นตอนการทำ CPR อย่างคร่าวๆ  o
ขั้นตอนการช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้น ( CPR )  มีดังนี้
1. ผู้ป่วยรู้สึกตัวหรือไม่ ให้เขย่าตัวหรือเรียกเสียงดังๆถ้าไม่ตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น
2. ให้ติดต่อขอความช่วยเหลือ
3. หายใจได้เองหรือไม่ ถ้าไม่ได้ ให้ช่วยหายใจด้วยวิธีเป่าปาก
3.1 จัดผู้ป่วยให้นอนราบ
3.2 ปลอเสื้อผ้าผู้ป่วยให้คลายออก
3.3 คุกเข่าด้านข้างผู้ป่วย
3.4 เปิดทางเดินหายใจ โดยดันหน้าผากเชยคางขึ้น
3.5 ประเมินว่าผู้ป่วยหายใจหรือไม่ เอียงหน้าให้หูอยู่ใกล้ปากและจมูกของผู้ป่วยและจมูก
ของผู้ป่วยตามองไปที่หน้าอก ดูการเคลื่อนไหวของทรวงอกว่าขยับขึ้นลง
ตามการหายใจหรือไม่ หูฟังเสียงลมหายใจ แก้มสัมผัสลมหายใจออก
3.6 ถ้าผู้ป่วยไม่หายใจ ให้ช่วยหายใจ โดยใช้มือบีบจมูกผู้ป่วยแล้วผู้ช่วยเหลือหายใจเข้าปอดเต็มที่
อ้าปากครอบไปบนปากผู้ป่วยจนสนิท แล้วเป่าลมเข้าปากผู้ป่วยเต็มที่ 2 ครั้ง
3.7 สังเกตุว่าลมปากเป่า เข้าสู่ปอดผู้ป่วยเต็มที่หรือไม่ โดยดูจากการเคลื่อนไหวของทรวงอก ถ้าลม
ที่เป่าไม่เข้าตัวผู้ป่วย ให้เป่าซ้ำอีกครั้งหนึ่ง ถ้ายังไม่มีลมเข้าตัวผู้ป่วยอีก อาจมีสิ่งแปลกปลอมอุด
กั้นทางเดินหายใจ ให้ล้วงเอาเสมหะเศษอาหาร ฟันปลอม ( ถ้ามี ) ออกก่อน แล้วให้ช่วยหายใจต่อ
3.8 ถ้าผู้ป่วยสามารถหายใจได้เอง ให้หยุดช่วยหายใจ และคอยสังเกตุการหายใจต่อไปอีก
4. ตรวจสอบชีพจรที่คอ ( CAROTID ) ถ้ามีชีพจรไม่ต้องกดหน้าอก
5. ถ้าไม่มีชีพจร ให้ทำการกดหน้าอก ( CHEST COMPRESSION )
5.1 วางสันมือตรงกึ่งกลางระหว่างหน้าอกผู้ป่วยเหนือลิ้นปี่ 2 นิ้วมือ
5.2 วางมืออีกข้างทับด้านบน
5.3 กดน้ำหนักลงไปยังสันมือ 2 ข้าง ลึก 1.5 - 2 นิ้ว
5.4 กดหน้าอกกด 30 ครั้ง โดยนับเป็นจังหวะ 1 และ 2 และ 3 และ 4 .... จนถึง 30
5.5 บีบจมูกและดันหน้าผากเชยคาง ช่วยหายใจด้วยวิธีเป่าปาก 2 ครั้ง สลับการกดหน้าอก
6. ทำซ้ำในขั้นตอนที่ 5 ( 4 รอบ )
7. ประเมินการหายใจและชีพจร ถ้าผู้ป่วยยังไม่หายใจและชีพจรยังไม่เต้นให้ช่วยจนกว่าผู้ป่วย
จะหายใจได้เอง หรือหน่วยกู้ชีพเดินทางไปถึง[/color]

2. คำย่อ "สพฉ."  ย่อมาจากอะไร?
-  สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ

3.รถปฏิบัติการฉุกเฉินสำหรับชุดปฏิบัติการระดับกลางและระดับสูง รถพยาบาลที่กำหนดไว้ในประกาศสำนักงานตำรวจแห่งชาติติดตั้งสัญญาณไฟฉุกเฉินวับวาบ  ฝาเลนส์ข้างซ้ายสี ? ฝาเลนส์ข้างข้างขวาสี?
-  รถที่เข้าระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ไฟแดงขวา + น้ำเงินซ้าย  / รถพยาบาลขั้นแอ็ดว๊านใช้ไฟสีน้ำเงินทั้งหมด

4.รถพยาบาลในระดับ BASIC LIFE SUPPORT หรือ ADVANCE LIFE SUPPORT ติดตั้งวิทยุคมนาคมแบบใด? และกำลังส่งไม่ต่ำกว่ากี่วัตต์?
-  วิทยุคมนาคม ระบบ VHF/FM ขนาดกำลังส่ง 25 วัตต์

5.STRETCHER COT ที่ขายตามท้องตลาดส่วนใหญ่มีคุณลักษณะเฉพาะอย่างไร?(ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
-  ตัวเตียงทำจากอลูมิเนียม ปลอดสนิม
-  มีพนักพิงสามารถปรับระดับยกแผ่นหลังผู้ป่วยขึ้น-ลงได้ไม่น้อยกว่า 0-65 องศา
-  มีเบาะรองตลอดเตียง พร้อมสายรัดไม่น้อยกว่า 2 จุด
-  มีน้ำหนักเตียงไม่เกิน 37 กิโลกรัม สามารถรองรับน้ำหนักผู้ป่วยได้ไม่น้อยกว่า 170 กิโลกรัม

6.REGULATOR ที่ใช้กับถังออกซิเจนทางการแพทย์  ใช้เพื่อทำอะไร  จงอธิบายให้ละเอียด?
-  เป็นอุปกรณ์ที่ติดอยู่กับถังออกซิเจนเพื่อแสดงถึงมาตรควบคุมความดันและบอกปริมาณของออกซิเจนที่มีอยู่ภายในท่อ(Regulator)พร้อมมาตรวัด(Flow Meter)ทำหน้าที่ควบคุมอัตราการไหลของออกซิเจนที่ผ่านการลดแรงดันจากRegulator

7.วันกำเนิด สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ตรงกับวัน?
วันที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติ คือ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2551

8. "โทร 1669" เป็นหมายเลขอะไร?
-  เลขหมายโทรศัพท์ในการรับแจ้งเหตุผู้ป่วยฉุกเฉินหมายเลขเดียวกันทั่วประเทศ
เพื่อให้ง่ายต่อการจดจำ โดยเมื่อผู้ป่วยหรือผู้ใกล้ชิดโทร.เรียก 1669 ระบบจะเชื่อมโยงสัญญาณ
ไปยังหน่วยแพทย์ฉุกเฉินที่ใกล้จุดที่โทรแจ้งมากที่สุด จากนั้นหน่วยกู้ชีพในพื้นที่รับผิดชอบ
ก็จะส่งเจ้าหน้าที่เข้าไปนำตัวผู้ป่วยส่งโรงพยาบาลโดยเร็ว โดยระหว่างทางเจ้าหน้าที่
จะทำการช่วยเหลือในเบื้องต้นตามความจำเป็น เช่น ห้ามเลือด ให้น้ำเกลือ เป็นต้น

9.อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ ที่ควรมีในพาหนะการแพทย์ฉุกเฉิน ระดับสูง มีอะไรบ้าง?(ตอบมากกว่า 1 ข้อ)
-  แผ่นกระดานรองหลังชนิดยาว (Long Spinal Board)
-  ชุดน้ำเกลือ (IV Set)
-  เครื่องดูดของเหลว/เสมหะ (Mobile suction)
-  กระเป๋าช่วยชีวิตฉุกเฉิน (Rescue bag)
-  เครื่องกระตุ้นหัวใจ (Defibrillator)
-  ท่อช่วยหายใจ (Endotrachal Intubation)
-  ตู้เย็นเก็บเวชภัณฑ์หรือเลือด 
-  เตียงนอนสำหรับผู้ป่วย (Automatic loading Stretcher) 
-  เก้าอี้เข็นเคลื่อนย้ายผู้ป่วย (Foldable chair)

10.ขั้นตอนการทำ CPR อย่างคร่าวๆ
ขั้นตอนการช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้น ( CPR )  มีดังนี้
1. ผู้ป่วยรู้สึกตัวหรือไม่ ให้เขย่าตัวหรือเรียกเสียงดังๆถ้าไม่ตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น
2. ให้ติดต่อขอความช่วยเหลือ
3. หายใจได้เองหรือไม่ ถ้าไม่ได้ ให้ช่วยหายใจด้วยวิธีเป่าปาก
3.1 จัดผู้ป่วยให้นอนราบ
3.2 ปลอเสื้อผ้าผู้ป่วยให้คลายออก
3.3 คุกเข่าด้านข้างผู้ป่วย
3.4 เปิดทางเดินหายใจ โดยดันหน้าผากเชยคางขึ้น
3.5 ประเมินว่าผู้ป่วยหายใจหรือไม่ เอียงหน้าให้หูอยู่ใกล้ปากและจมูกของผู้ป่วยและจมูก
ของผู้ป่วยตามองไปที่หน้าอก ดูการเคลื่อนไหวของทรวงอกว่าขยับขึ้นลง
ตามการหายใจหรือไม่ หูฟังเสียงลมหายใจ แก้มสัมผัสลมหายใจออก
3.6 ถ้าผู้ป่วยไม่หายใจ ให้ช่วยหายใจ โดยใช้มือบีบจมูกผู้ป่วยแล้วผู้ช่วยเหลือหายใจเข้าปอดเต็มที่
อ้าปากครอบไปบนปากผู้ป่วยจนสนิท แล้วเป่าลมเข้าปากผู้ป่วยเต็มที่ 2 ครั้ง
3.7 สังเกตุว่าลมปากเป่า เข้าสู่ปอดผู้ป่วยเต็มที่หรือไม่ โดยดูจากการเคลื่อนไหวของทรวงอก ถ้าลม
ที่เป่าไม่เข้าตัวผู้ป่วย ให้เป่าซ้ำอีกครั้งหนึ่ง ถ้ายังไม่มีลมเข้าตัวผู้ป่วยอีก อาจมีสิ่งแปลกปลอมอุด
กั้นทางเดินหายใจ ให้ล้วงเอาเสมหะเศษอาหาร ฟันปลอม ( ถ้ามี ) ออกก่อน แล้วให้ช่วยหายใจต่อ
3.8 ถ้าผู้ป่วยสามารถหายใจได้เอง ให้หยุดช่วยหายใจ และคอยสังเกตุการหายใจต่อไปอีก
4. ตรวจสอบชีพจรที่คอ ( CAROTID ) ถ้ามีชีพจรไม่ต้องกดหน้าอก
5. ถ้าไม่มีชีพจร ให้ทำการกดหน้าอก ( CHEST COMPRESSION )
5.1 วางสันมือตรงกึ่งกลางระหว่างหน้าอกผู้ป่วยเหนือลิ้นปี่ 2 นิ้วมือ
5.2 วางมืออีกข้างทับด้านบน
5.3 กดน้ำหนักลงไปยังสันมือ 2 ข้าง ลึก 1.5 - 2 นิ้ว
5.4 กดหน้าอกกด 30 ครั้ง โดยนับเป็นจังหวะ 1 และ 2 และ 3 และ 4 .... จนถึง 30
5.5 บีบจมูกและดันหน้าผากเชยคาง ช่วยหายใจด้วยวิธีเป่าปาก 2 ครั้ง สลับการกดหน้าอก
6. ทำซ้ำในขั้นตอนที่ 5 ( 4 รอบ )
7. ประเมินการหายใจและชีพจร ถ้าผู้ป่วยยังไม่หายใจและชีพจรยังไม่เต้นให้ช่วยจนกว่าผู้ป่วย
จะหายใจได้เอง หรือหน่วยกู้ชีพเดินทางไปถึง


หัวข้อ: Re: ขออนุญาติเพื่อนสมาชิกเล่นเกมส์
เริ่มหัวข้อโดย: e22mxe ที่ 10 มกราคม 2011, 01:22:54
ดีจังกิจกรรมน่าเล่น น่าสนใจ ได้ความรู้ ดีมากๆครับ เดี๋ยวหาข้อมูลก่อน ว่าจะถามสาวๆที่เคยมาวัดหัวใจที่ออฟฟิตซะหน่อย อิอิอิ เอาลุยๆๆๆๆเพื่อนๆที่ทำงานอาสาหน่วยกู้ชีพ ลุยเลย เวลาเหลือน้อยแล้ว เจ้าของกระทู้ขยายเวลาอีกสักหน่อยซิ เผื่อได้พวกเพรียบเลย เดี๋ยวจะเข้ามาช่วยอัพให้ งานนี้ต้องดันกันสุดๆ ;D ;D ;D

ขอบคุณมากครับ  ก็ได้กิจกรรมแบบของพี่หล่ะครับทำให้เป็นแรงบันดาลใจในการเล่นเกมส์นี้  พอดีว่าของรางวัลมีจำนวนจำกัดครับ  กระผมคงต้องยืนยันเวลาเช่นเดิม คือ พรุ้งนี้ 09.00 น.  ครับ และจะสรุปคะแนนอีกครั้ง  ส่วนเพื่อนๆที่ตอบคำถามแต่ไม่ได้รางวัลใหญ่  กระผมมีของที่ระลึกให้ครับ  รับรองว่าถูกใจ


หัวข้อ: Re: ขออนุญาติเพื่อนสมาชิกเล่นเกมส์
เริ่มหัวข้อโดย: aohbama ค้างค่าเช่าพื้นที่โฆษณา 2 เดือน ที่ 10 มกราคม 2011, 01:58:02
 :'(  แง้ๆ  ของผม ข้อ 7. ทำไม 0 อ่า า  งง  

คำขวัญวันเด็ก เล่นบีบีเพลิน เดินสยามตามกระแส ไม่แคร์สื่อ ซื้อบิ๊กอาย มีบายธ์เป็นของตัวเอง ครื้นเครงอยู่ในผับ นั่งหลับเวลาเรียน หมั่นเพียรเม้นFacebook เผื่อฟลุ๊กอาจได้แฟน


หัวข้อ: Re: ขออนุญาติเพื่อนสมาชิกเล่นเกมส์
เริ่มหัวข้อโดย: 57114 ที่ 10 มกราคม 2011, 07:15:32
ทำไมข้อ 7ผม ผิดอะ งง


หัวข้อ: Re: ขออนุญาติเพื่อนสมาชิกเล่นเกมส์
เริ่มหัวข้อโดย: e22mxe ที่ 10 มกราคม 2011, 08:48:10
ทำไมข้อ 7ผม ผิดอะ งง


ผมแค่ตรวจทานเบื้องต้นครับ  ยังไม่ได้รวบรวมคะแนนจริงจัง   ครับ

08.47  น.แล้ว  รอเวลาหมด 09.00 น.


หัวข้อ: Re: ขออนุญาติเพื่อนสมาชิกเล่นเกมส์
เริ่มหัวข้อโดย: 57114 ที่ 10 มกราคม 2011, 08:59:07
ทำไมข้อ 7ผม ผิดอะ งง


ผมแค่ตรวจทานเบื้องต้นครับ  ยังไม่ได้รวบรวมคะแนนจริงจัง   ครับ

08.47  น.แล้ว  รอเวลาหมด 09.00 น.

รับทราบคับ ;D


หัวข้อ: Re: ขออนุญาติเพื่อนสมาชิกเล่นเกมส์
เริ่มหัวข้อโดย: 57114 ที่ 10 มกราคม 2011, 09:00:41
ผิดถูกไม่เป็นรัยได้ทบทวนความรู้รอบตัว


หัวข้อ: Re: ขออนุญาติเพื่อนสมาชิกเล่นเกมส์
เริ่มหัวข้อโดย: e22mxe ที่ 10 มกราคม 2011, 09:14:13
หมดเวลาครับ  เตรียมสรุปคะแนน  


หัวข้อ: Re: ขออนุญาติเพื่อนสมาชิกเล่นเกมส์
เริ่มหัวข้อโดย: airz ที่ 10 มกราคม 2011, 10:02:55
เพื่อนสมาชิกรอดูผลกันอย่างใจจดใจจ่อ ^^"


หัวข้อ: Re: ขออนุญาติเพื่อนสมาชิกเล่นเกมส์
เริ่มหัวข้อโดย: E20MLS ที่ 10 มกราคม 2011, 10:12:52
หมดเวลาซะแล้ว วันนี้ตื่นสาย เมาค้าง อิอิอิอิ  ;D ;D ;D ;D


หัวข้อ: Re: ขออนุญาติเพื่อนสมาชิกเล่นเกมส์
เริ่มหัวข้อโดย: e22mxe ที่ 10 มกราคม 2011, 10:30:21
ขอบคุณเพื่อนสมาชิกทุกๆท่านที่ได้ร่วมเล่นเกมส์กัน  ทุกท่านตอบคำตอบได้ถูกต้อง  แต่จะมีการเฉือนกันนิดเดียว  บางข้อกระผมใช้ความรู้สึก หรือ การจดจำง่ายเป็นหลักในการทำความเข้าใจกับโจทย์  ดังนั้นเมื่อกระผมพิจารณาแต่ละข้อแล้วขอสรุป ผู้ที่ได้รับของรางวัล เป็น ชุดช่วยหายใจมือบีบ สำหรับผู้ใหญ่ 1 ชุด  คือ  คุณ 57114

ส่วนเพื่อนสมาชิก aohbama  และ tumzzx  กระผมจะส่งของที่ระลึกไปให้ครับ  ตามรูปด้านล่าง

(http://i569.photobucket.com/albums/ss137/sarun_noi/IMG_0022.jpg)

(http://i569.photobucket.com/albums/ss137/sarun_noi/IMG_0023.jpg)

(http://i569.photobucket.com/albums/ss137/sarun_noi/IMG_0024.jpg)



หัวข้อ: Re: ขออนุญาติเพื่อนสมาชิกเล่นเกมส์
เริ่มหัวข้อโดย: e22mxe ที่ 10 มกราคม 2011, 10:33:39
เพื่อนสมาชิกที่ร่วมเล่นเกมส์  คุณ 57114 , คุณ aohbama และคุณ tumzzx  รบกวนขอที่อยู่ในการจัดส่งของขวัญปีใหม่ ไปให้ครับ


หัวข้อ: Re: ขออนุญาติเพื่อนสมาชิกเล่นเกมส์
เริ่มหัวข้อโดย: E20MLS ที่ 10 มกราคม 2011, 10:41:29
เพื่อนสมาชิกที่ร่วมเล่นเกมส์  คุณ 57114 , คุณ aohbama และคุณ tumzzx  รบกวนขอที่อยู่ในการจัดส่งของขวัญปีใหม่ ไปให้ครับ

ยินดีด้วยครับ กับท่านทั้ง 3  ;D ;D ;D ;D


หัวข้อ: Re: ขออนุญาติเพื่อนสมาชิกเล่นเกมส์
เริ่มหัวข้อโดย: 57114 ที่ 10 มกราคม 2011, 10:48:47
ก่อนอื่นต้องขอขอบคุณ e22mxe สำหรับของรางวัลนี้ผมจะนำของสิ่งนี้ไปช่วยเหลือผู้ที่ประสบเหตุ
 และ  ขอบคุณเพื่อนสมาชิกทุกๆท่านที่ได้ร่วมเล่นเกมส์กัน   อยากจะพูดยาวกว่านี้แต่ยังนึกไม่ออก สรุปว่าขอบคุณคับ
 นาย สุภศิษฎ์  ศรีสุขสมบูรณ์
   21/2ม.11ต.ท่าทอง อ.เมืองจ.พิษณุโลก 65000
    085-0491525


หัวข้อ: Re: ขออนุญาติเพื่อนสมาชิกเล่นเกมส์
เริ่มหัวข้อโดย: aohbama ค้างค่าเช่าพื้นที่โฆษณา 2 เดือน ที่ 10 มกราคม 2011, 10:49:05
ขอบคุณมากค๊าบ บ   Papercraft. รถพยาบาลซะด้วย ย  อิ อิ  (พี่ๆผมขอแบบยังไม่ได้ต่อน้าส์)

ที่อยู่คับ
  
          อภิสิทธิ์  วงษ์มะหิงค์  

5 หมู่ 4 ถนน แก่งคอย-ท่าศาลา ตำบล บ้านธาตุ

อำเภอ แก่งคอย   จังหวัด สระบุรี  18110


หัวข้อ: Re: ขออนุญาติเพื่อนสมาชิกเล่นเกมส์
เริ่มหัวข้อโดย: e22mxe ที่ 12 มกราคม 2011, 21:29:51
แจ้งลบกระทู้ครับ  ดำเนินการส่งสินค้าและ PM.เลขที่พัสดุลงทะเบียนให้สมาชิกทุกท่านแล้ว


ขอบคุณ แฮมสยาม ครับ  ;D ;D ;D ;D ;D ;D


หัวข้อ: Re: ขออนุญาติเพื่อนสมาชิกเล่นเกมส์
เริ่มหัวข้อโดย: nutrjay ที่ 12 มกราคม 2011, 21:40:13
อยากเสนอนิดนึงครับ

น่าจะเพิ่มเงื่อนไขว่า แจกกับ สมาชิกที่เป็นอาสา และมียานพาหนะเป็นของตัวเอง

เพราะไม่ได้ได้ของไป ก็ไม่เกิดประโยชน์ครับ เพราะไม่้มีโอกาสได้เอาออกไปช่วยเหลือใคร


หัวข้อ: Re: ขออนุญาติเพื่อนสมาชิกเล่นเกมส์
เริ่มหัวข้อโดย: 57114 ที่ 12 มกราคม 2011, 21:46:38
อยากเสนอนิดนึงครับ

น่าจะเพิ่มเงื่อนไขว่า แจกกับ สมาชิกที่เป็นอาสา และมียานพาหนะเป็นของตัวเอง

เพราะไม่ได้ได้ของไป ก็ไม่เกิดประโยชน์ครับ เพราะไม่้มีโอกาสได้เอาออกไปช่วยเหลือใคร
ผมมีรถกู้ภัยเป็นของตัวเองคับ และผมก็จบEMT-Bมาคับว่างๆจะเอารูปรถมาลงให้ดูพร้อมอุปกรณ์ที่ได้มา


หัวข้อ: Re: ขออนุญาติเพื่อนสมาชิกเล่นเกมส์
เริ่มหัวข้อโดย: nutrjay ที่ 12 มกราคม 2011, 21:51:02
อยากเสนอนิดนึงครับ

น่าจะเพิ่มเงื่อนไขว่า แจกกับ สมาชิกที่เป็นอาสา และมียานพาหนะเป็นของตัวเอง

เพราะไม่ได้ได้ของไป ก็ไม่เกิดประโยชน์ครับ เพราะไม่้มีโอกาสได้เอาออกไปช่วยเหลือใคร
ผมมีรถกู้ภัยเป็นของตัวเองคับ และผมก็จบEMT-Bมาคับว่างๆจะเอารูปรถมาลงให้ดูพร้อมอุปกรณ์ที่ได้มา

ขอโทษทีครับ ผมไม่ได้มีเจตนา แบบนั้นครับผม

พอดี ผมไม่ได้อ่านว่ามีการแจกไปแล้วเรียบร้อยครับผม

ต้องกราบขออภัยจริงๆครับ


หัวข้อ: Re: ขออนุญาติเพื่อนสมาชิกเล่นเกมส์
เริ่มหัวข้อโดย: 57114 ที่ 13 มกราคม 2011, 01:41:21
อยากเสนอนิดนึงครับ

น่าจะเพิ่มเงื่อนไขว่า แจกกับ สมาชิกที่เป็นอาสา และมียานพาหนะเป็นของตัวเอง

เพราะไม่ได้ได้ของไป ก็ไม่เกิดประโยชน์ครับ เพราะไม่้มีโอกาสได้เอาออกไปช่วยเหลือใคร
ผมมีรถกู้ภัยเป็นของตัวเองคับ และผมก็จบEMT-Bมาคับว่างๆจะเอารูปรถมาลงให้ดูพร้อมอุปกรณ์ที่ได้มา

ขอโทษทีครับ ผมไม่ได้มีเจตนา แบบนั้นครับผม

พอดี ผมไม่ได้อ่านว่ามีการแจกไปแล้วเรียบร้อยครับผม

ต้องกราบขออภัยจริงๆครับ

ไม่เป็นรัยคับผิดพลาดให้อภัยกันได้คับ ขอบคุณคับ :D :D :D


หัวข้อ: Re: ขออนุญาติเพื่อนสมาชิกเล่นเกมส์
เริ่มหัวข้อโดย: 57114 ที่ 14 มกราคม 2011, 19:27:07
ได้รับของเรียบร้อยแล้วคับ
ขอบคุณคับ
ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ�
ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ� ŧ��ɳ�


Webmaster Earn Money! By Affiliate Program 100% Pay
www.samuismile.com